สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 16 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 16 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครราชสีมามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พันเอก พระยาเสนาภิมุข (แสง เตมิยาจล) และ นายสนิท เจริญรัฐ[2]
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2480 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโนนวัด และอำเภอกระโทก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโนนลาว, อำเภอสูงเนิน, อำเภอจันทึก, อำเภอปักธงชัย และอำเภอด่านขุนทด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพิมายและอำเภอบัวใหญ่ |
|
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโชคชัย และอำเภอครบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโนนไทย, อำเภอสูงเนิน, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอด่านขุนทด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบัวใหญ่ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพิมายและอำเภอโนนสูง |
|
พ.ศ. 2491 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
4 คน (เขตละ 4 คน)
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495 |
5 คน (เขตละ 5 คน)
|
พ.ศ. 2500/1 |
6 คน (เขตละ 6 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
9 คน (เขตละ 9 คน)
|
พ.ศ. 2518 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอสูงเนิน, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และอำเภอขามสะแกแสง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และอำเภอห้วยแถลง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอคง, อำเภอบัวใหญ่ และอำเภอประทาย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอปากช่อง |
|
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโชคชัย, อำเภอครบุรี และกิ่งอำเภอเสิงสาง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย, อำเภอสูงเนิน และอำเภอขามทะเลสอ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และกิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง |
|
12 คน (4 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2526 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอสูงเนิน และอำเภอโนนไทย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และอำเภอขามทะเลสอ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอโนนสูง, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอเสิงสาง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง และกิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม |
|
13 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4–5 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2529 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และกิ่งอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, กิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง |
|
15 คน (5 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2531 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และกิ่งอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง |
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอโนนแดง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง |
|
พ.ศ. 2535/2 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอโนนแดง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง |
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอเมืองยาง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง และอำเภอโนนแดง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอขามทะเลสอ และกิ่งอำเภอสำนักตะคร้อ · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว |
|
16 คน (เขต 1–4 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 5–6 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2539 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง, กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอโนนแดง และกิ่งอำเภอพระทองคำ · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอขามทะเลสอ และกิ่งอำเภอเทพารักษ์ · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว |
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา [เฉพาะเขตเทศบาลนครนครราชสีมา (ยกเว้นพื้นที่ตั้งแต่หัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา] ไปตามถนนกีฬากลาง จรดถนนช้างเผือก เลี้ยวตามถนนท้าวสุระด้านทิศตะวันออก จรดทางรถไฟ และยึดแนวทางรถไฟสายนครราชสีมา–หนองคายไปบรรจบหลักเขตเทศบาล เรื่อยไปตามแนวเขตเทศบาล จรดหัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา])] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา [เฉพาะตำบลหนองไข่น้ำ ตำบลบ้านเกาะ ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลมะเริง ตำบลหนองระเวียง ตำบลพะเนา ตำบลตลาด ตำบลหัวทะเล ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหนองไผ่ล้อม และเขตเทศบาลนครนครราชสีมา (เฉพาะพื้นที่ตั้งแต่หัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา] ไปตามถนนกีฬากลาง จรดถนนช้างเผือก เลี้ยวตามถนนท้าวสุระด้านทิศตะวันออก จรดทางรถไฟ และยึดแนวทางรถไฟสายนครราชสีมา–หนองคายไปบรรจบหลักเขตเทศบาล เรื่อยไปตามแนวเขตเทศบาล จรดหัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา])] · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสูงเนินและอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลโคกกรวด ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลหนองกระทุ่ม และตำบลหมื่นไวย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลสีมุม ตำบลพลกรัง ตำบลพุดซา ตำบลจอหอ และตำบลโคกสูง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูงและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลหนองงูเหลือมและตำบลพระพุทธ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอแก้งสนามนาง และอำเภอบ้านเหลื่อม · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอชุมพวง (ยกเว้นตำบลประสุข), อำเภอประทาย (เฉพาะตำบลโคกกลาง ตำบลดอนมัน และตำบลตลาดไทร), กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอห้วยแถลงและอำเภอจักราช · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอหนองบุนนาก, อำเภอโชคชัย และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลหนองงูเหลือมและตำบลพระพุทธ) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอครบุรีและอำเภอเสิงสาง · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอปักธงชัยและอำเภอวังน้ำเขียว · เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลหนองสาหร่าย) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอสีคิ้วและอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลหนองสาหร่าย) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง (ยกเว้นตำบลเทพาลัย) และกิ่งอำเภอพระทองคำ · เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอด่านขุนทดและกิ่งอำเภอเทพารักษ์ · เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอพิมายและอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลประสุข) · เขตเลือกตั้งที่ 17 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย (ยกเว้นตำบลโคกกลาง ตำบลดอนมัน และตำบลตลาดไทร), อำเภอคง (เฉพาะตำบลเทพาลัย), กิ่งอำเภอสีดา และกิ่งอำเภอบัวลาย |
|
17 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสูงเนินและอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และกิ่งอำเภอพระทองคำ · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูงและอำเภอขามสะแกแสง · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, กิ่งอำเภอบัวลาย และกิ่งอำเภอสีดา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอประทาย, อำเภอโนนแดง และอำเภอคง · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอชุมพวง, กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอพิมาย · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอห้วยแถลงและอำเภอจักราช · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอโชคชัย และอำเภอหนองบุญมาก · เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอเสิงสางและอำเภอครบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอปักธงชัยและอำเภอวังน้ำเขียว · เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอปากช่อง · เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอสีคิ้ว · เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอด่านขุนทดและกิ่งอำเภอเทพารักษ์ |
|
16 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอขามทะเลสอ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย, อำเภอวังน้ำเขียว, อำเภอเสิงสาง และอำเภอครบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสีคิ้ว, อำเภอสูงเนิน, อำเภอด่านขุนทด, อำเภอเทพารักษ์, อำเภอพระทองคำ และอำเภอโนนไทย · เขตเลือกตั้งที่ 4 :อำเภอโนนสูง, อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอโชคชัย, อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
|
16 คน (เขต 1–4 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 5–6 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม และตำบลหนองจะบก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลบ้านเกาะ ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหัวทะเล ตำบลจอหอ ตำบลตลาด ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลพะเนา ตำบลมะเริง ตำบลหนองระเวียง ตำบลโคกสูง ตำบลหมื่นไวย และตำบลหนองไข่น้ำ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอสูงเนิน (ยกเว้นตำบลเสมา ตำบลมะเกลือใหม่ และตำบลมะเกลือเก่า) และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลปรุใหญ่ ตำบลพลกรัง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลพุดซา ตำบลโคกกรวด ตำบลสุรนารี ตำบลหนองกระทุ่ม และตำบลสีมุม) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูงและอำเภอโนนไทย (ยกเว้นตำบลบัลลังก์ ตำบลบ้านวัง ตำบลค้างพลู และตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง และอำเภอพระทองคำ · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิมายและอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลท่าลาด ตำบลประสุข ตำบลชุมพวง ตำบลโนนยอ และตำบลหนองหลัก) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลสาหร่าย ตำบลตลาดไทร ตำบลโนนตูม และตำบลโนนรัง) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอโชคชัย และอำเภอหนองบุญมาก · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอครบุรีและอำเภอเสิงสาง · เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอวังน้ำเขียว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลไชยมงคล) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลจันทึก) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอสีคิ้ว, อำเภอสูงเนิน (เฉพาะตำบลเสมา ตำบลมะเกลือใหม่ และตำบลมะเกลือเก่า) และอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลจันทึก) · เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลบัลลังก์ ตำบลบ้านวัง ตำบลค้างพลู และตำบลสำโรง) |
|
15 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม ตำบลโพธิ์กลาง และตำบลหนองจะบก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองจะบก ตำบลไชยมงคล ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหัวทะเล ตำบลพะเนา และตำบลหนองระเวียง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอสูงเนิน และอำเภอสีคิ้ว (เฉพาะตำบลสีคิ้ว ตำบลมิตรภาพ ตำบลลาดบัวขาว ตำบลคลองไผ่ ตำบลหนองน้ำใส และตำบลหนองหญ้าขาว) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลถนนโพธิ์ ตำบลมะค่า ตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง) และอำเภอพิมาย (เฉพาะตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำทะเมนชัย, อำเภอเมืองยาง, อำเภอประทาย, อำเภอโนนแดง และอำเภอคง (เฉพาะตำบลเทพาลัย ตำบลขามสมบูรณ์ และตำบลตาจั่น) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอชุมพวงและอำเภอพิมาย (ยกเว้นตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอห้วยแถลง, อำเภอจักราช และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอโชคชัย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหนองระเวียง ตำบลพะเนา และตำบลหัวทะเล) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอเสิงสาง, อำเภอครบุรี และอำเภอวังน้ำเขียว (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลวังน้ำเขียว) · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอปักธงชัย, อำเภอวังน้ำเขียว (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคีและตำบลวังน้ำเขียว), อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลไชยมงคลและตำบลหนองบัวศาลา) และอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลวังกะทะ) · เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลวังกะทะ) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอสีคิ้ว (เฉพาะตำบลดอนเมือง ตำบลกฤษณา ตำบลวังโรงใหญ่ ตำบลหนองบัวน้อย ตำบลบ้านหัน และตำบลกุดน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอพระทองคำ, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง (ยกเว้นตำบลเทพาลัย ตำบลขามสมบูรณ์ และตำบลตาจั่น) และอำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลสายออ ตำบลโนนไทย ตำบลค้างพลู ตำบลบ้านวัง และตำบลบัลลังก์) |
ดูในกูเกิล แผนที่ |
14 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม และตำบลโพธิ์กลาง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหนองระเวียง ตำบลหัวทะเล ตำบลมะเริง ตำบลพะเนา ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลตลาด ตำบลบ้านเกาะ ตำบลจอหอ ตำบลหนองไข่น้ำ และตำบลโคกสูง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง) และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลพุดซา ตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลปรุใหญ่ ตำบลสีมุม ตำบลพลกรัง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลหนองจะบก ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสูงเนิน, อำเภอขามทะเลสอ และอำเภอโนนไทย (ยกเว้นตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลช้างทองและตำบลท่าช้าง) และอำเภอพิมาย (เฉพาะตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอชุมพวง (ยกเว้นตำบลโนนตูมและตำบลตลาดไทร) และอำเภอพิมาย (ยกเว้นตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลโนนตูมและตำบลตลาดไทร) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอโชคชัย, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลช้างทองและตำบลท่าช้าง) และอำเภอครบุรี (ยกเว้นตำบลลำเพียก ตำบลโคกกระชาย ตำบลตะแบกบาน ตำบลสระว่านพระยา และตำบลมาบตะโกเอน) · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอเสิงสาง และอำเภอครบุรี (เฉพาะตำบลลำเพียก ตำบลโคกกระชาย ตำบลตะแบกบาน ตำบลสระว่านพระยา และตำบลมาบตะโกเอน) · เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอวังน้ำเขียวและอำเภอปักธงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอสีคิ้วและอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลวังไทร ตำบลคลองม่วง ตำบลวังกะทะ และตำบลโป่งตาลอง) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลวังไทร ตำบลคลองม่วง ตำบลวังกะทะ และตำบลโป่งตาลอง) · เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอพระทองคำ (เฉพาะตำบลมาบกราดและตำบลทัพรั้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอคง, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอขามสะแกแสง และอำเภอพระทองคำ (ยกเว้นตำบลทัพรั้งและตำบลมาบกราด) |
|
16 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหชีพ
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ 5–6; พ.ศ. 2491–2492
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคอิสระ
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
- พรรคฟื้นฟูชาติไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสังคมชาตินิยม
ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพลังใหม่
- พรรคชาติไทย
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคกิจสังคม
ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
- พรรคชาติไทย
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
- พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) → พรรคเอกภาพ
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคชาติไทย
- พรรคนำไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) → พรรคไทยรักไทย
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคมหาชน
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
- พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน → พรรคชาติพัฒนา
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคชาติพัฒนา → พรรคชาติพัฒนากล้า
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคภูมิใจไทย
รูปภาพ
-
นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ
-
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)
-
นายยศ อินทรโกมาลย์สุต
-
พลเอก เนตร เขมะโยธิน
-
นายสมพล เกยุราพันธุ์
-
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
-
นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
-
นายมงคล สุคนธขจร
-
เรืออากาศตรี สุเทพ วงศ์กำแหง
-
นายสกุล ศรีพรหม
-
นายสมบูรณ์ จีระมะกร
-
นายกร ทัพพะรังสี
-
นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
-
นายวิรัช รัตนเศรษฐ
-
นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์
-
นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ
-
นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
-
นางศรีสกุล พร้อมพันธุ์
-
นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
-
ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี
-
นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
-
นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
-
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
-
นายประเสริฐ บุญชัยสุข
-
นางทัศนียา รัตนเศรษฐ
-
นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ
-
นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์
-
นายวัชรพล โตมรศักดิ์
-
นายพลพีร์ สุวรรณฉวี
-
ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
การทหาร | |
---|
|
---|
|
|