สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี
จังหวัดสระบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสระบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยตรี บุญแถม ปิตยานนท์[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 12 สมัย ได้แก่ พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดสระบุรี คือ นางพูลศรี สุดบรรทัด (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495
|
พ.ศ. 2500/1 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512
|
พ.ศ. 2518 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้ และอำเภอดอนพุด · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก และกิ่งอำเภอวังม่วง |
|
4 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2539 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้ และอำเภอดอนพุด · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก และอำเภอวังม่วง |
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอแก่งคอย (เฉพาะตำบลห้วยแห้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย (ยกเว้นตำบลห้วยแห้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอหนองแซง และอำเภอเสาไห้ (เฉพาะตำบลเมืองเก่า ตำบลเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้ ตำบลม่วงงาม และตำบลเริงราง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอเสาไห้ (ยกเว้นตำบลเมืองเก่า ตำบลเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้ ตำบลม่วงงาม และตำบลเริงราง) |
|
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอวังม่วง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแค, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอวิหารแดง, อำเภอเสาไห้, อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองโดน และอำเภอดอนพุด |
|
4 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรีและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง และอำเภอหนองแซง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอเสาไห้ |
|
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอพระพุทธบาท · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวิหารแดง และอำเภอวังม่วง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้, อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองโดน และอำเภอดอนพุด |
|
3 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอเมืองสระบุรี (ยกเว้นตำบลหนองโน) และอำเภอแก่งคอย (เฉพาะตำบลห้วยแห้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย (ยกเว้นตำบลห้วยแห้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวิหารแดง, อำเภอหนองแค, อำเภอหนองแซง และอำเภอเมืองสระบุรี (เฉพาะตำบลหนองโน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสาไห้, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอบ้านหมอ |
|
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคเสรีมนังคศิลา → พรรคชาติสังคม
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535
- พรรคชาติไทย
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคพลังใหม่
- พรรคราษฎร
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพลังประชาชน
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย → ไม่สังกัดพรรคการเมือง
- หมายเหตุ :
- ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร ภายหลังมีสถานะ "ไม่สังกัดพรรค" เนื่องจากเข้าร่วมงานกับพรรคภูมิใจไทยจึงถูกพรรคเพื่อไทยขับออกจากพรรค[3]
ชุดที่ 24-26; พ.ศ. 2554-2566
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคกล้าธรรม
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษาและวัฒนธรรม | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|
|