ภาคตะวันตก |
---|
|
| ภาคตะวันตกในประเทศไทย | เมืองใหญ่สุด | หัวหิน |
---|
จังหวัด | |
---|
พื้นที่ |
---|
• ทั้งหมด | 53,769 ตร.กม. (20,760 ตร.ไมล์) |
---|
ประชากร (พ.ศ. 2558) |
---|
• ทั้งหมด | 3,381,719 คน |
---|
• ความหนาแน่น | 63 คน/ตร.กม. (160 คน/ตร.ไมล์) |
---|
เขตเวลา | UTC+7 (Thailand) |
---|
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย |
ภาคตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก โดยจังหวัดที่มีขนาดเศรษฐกิจดีที่สุดในภาคตะวันตก คือ จังหวัดราชบุรี รองลงมา คือ จังหวัดกาญจนบุรี และ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามลำดับ วัดจากจำนวน GDP
การแบ่งเขตการปกครอง
การแบ่งภูมิภาคตามราชบัณฑิตยสถาน แบ่งภาคตะวันตกประกอบไปด้วย 5 จังหวัดอย่างเป็นทางการ[1] ตามตารางด้านล่าง นอกจากนี้ ยังมีการจัดแบ่งภูมิภาคตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นการแบ่งเพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ และไม่เป็นทางการ[1] ประกอบไปด้วยจังหวัดตามตาราง ยกเว้นจังหวัดตาก และมีจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงครามเพิ่มเข้ามา
ตราประจำ จังหวัด
|
ชื่อจังหวัด อักษรไทย
|
ชื่อจังหวัด อักษรโรมัน
|
จำนวนประชากร (คน)
|
พื้นที่ (ตร.กม.)
|
ความหนาแน่น (คน/ตร.กม.)
|
|
กาญจนบุรี
|
Kanchanaburi
|
894,054
|
19,483.2
|
43.1
|
|
ตาก
|
Tak
|
525,684
|
16,406.6
|
32.0
|
|
ประจวบคีรีขันธ์
|
Prachuap Khiri Khan
|
509,134
|
6,367.6
|
80.0
|
|
เพชรบุรี
|
Phetchaburi
|
464,033
|
6,225.1
|
74.5
|
|
ราชบุรี
|
Ratchaburi
|
873,212
|
5,196.5
|
161.5
|
ที่ตั้งและอาณาเขต
ประชากรศาสตร์
อาชีพ
ประชาชนส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมในครัวเรือน อุตสาหกรรมหนัก กลาง เบา มีมากในจังหวัดราชบุรี[ต้องการอ้างอิง] โดยมีอำเภอบ้านโป่ง เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและการพาณิชยกรรมในภาคตะวันตก[ต้องการอ้างอิง]
สถิติประชากร
อันดับ |
จังหวัด |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2558)[2] |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2557)[3] |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2556)[4] |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2555) [5] |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2554) [6] |
จำนวน (คน) (31 ธันวาคม 2553) [7]
|
1 |
กาญจนบุรี |
882,146 |
848,198 |
842,882 |
838,269 |
838,914 |
|
2 |
ราชบุรี |
867,883 |
853,217 |
850,162 |
846,631 |
842,684 |
839,075
|
3 |
ตาก |
618,382 |
539,553 |
532,353 |
526,045 |
531,018 |
525,684
|
4 |
ประจวบคีรีขันธ์ |
534,719 |
525,107 |
520,271 |
517,050 |
512,568 |
509,134
|
5 |
เพชรบุรี |
478,589 |
474,192 |
471,087 |
468,874 |
466,079 |
464,033
|
— |
รวม |
3,381,719 |
3,240,267 |
3,216,755 |
3,196,869 |
3,191,263 |
3,177,702
|
เมืองใหญ่สุด
รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก 20 อันดับแรก เรียงตามจำนวนประชากร
เมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก ธันวาคม 2566 (จากฐานข้อมูลกรมการปกครอง) [8] |
---|
|
อันดับ
|
ชื่อ
|
จังหวัด
|
ประชากร
|
อันดับ
|
ชื่อ
|
จังหวัด
|
ประชากร |
|
หัวหิน
แม่สอด
|
1 |
หัวหิน |
ประจวบคีรีขันธ์ |
62,061 |
11 |
นายาง |
เพชรบุรี |
19,068
|
ชะอำ
ราชบุรี
|
2 |
แม่สอด |
ตาก |
42,516 |
12 |
ประจวบคีรีขันธ์ |
ประจวบคีรีขันธ์ |
17,778
|
3 |
ชะอำ |
เพชรบุรี |
41,956 |
13 |
หลักเมือง |
ราชบุรี |
17,217
|
4 |
ราชบุรี |
ราชบุรี |
33,278 |
14 |
ปราณบุรี |
ประจวบคีรีขันธ์ |
16,589
|
5 |
ปากแพรก |
กาญจนบุรี |
28,466 |
15 |
เบิกไพร |
ราชบุรี |
16,286
|
6 |
ท่ายาง |
เพชรบุรี |
27,700 |
16 |
บางแพ |
ราชบุรี |
15,860
|
7 |
กาญจนบุรี |
กาญจนบุรี |
25,136 |
17 |
ตาก |
ตาก |
15,301
|
8 |
ท่าสายลวด |
ตาก |
24,377 |
18 |
เขาย้อย |
เพชรบุรี |
15,029
|
9 |
ท่าผา |
ราชบุรี |
20,083 |
19 |
บ้านโป่ง |
ราชบุรี |
15,019
|
10 |
เพชรบุรี |
เพชรบุรี |
19,612 |
20 |
ทุ่งหลวง |
ราชบุรี |
13,937
|
|
อ้างอิง
|