Share to:

 

จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,152,874
ผู้ใช้สิทธิ74.55%
  First party Second party
 
Prayuth 2018 cropped.jpg
Thanathorn Juangroongruangkit - 2.jpg
พรรค พลังประชารัฐ อนาคตใหม่
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 5 3
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 เพิ่มขึ้น3
คะแนนเสียง 300,329 217,941
% 37.50 27.21

  Third party Fourth party
 
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
Sudarat Keyuraphan in 2019.png
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1
คะแนนเสียง 58,056 57,025
% 7.25 7.12

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดชลบุรี กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

แบ่งตามพรรค

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 8 300,329 37.50% 5 เพิ่มขึ้น5 62.50%
อนาคตใหม่ 8 217,941 27.21% 3 เพิ่มขึ้น3 37.50%
ภูมิใจไทย 8 68,371 8.55% 0 Steady 0.00%
ประชาธิปัตย์ 8 58,056 7.25% 0 ลดลง1 0.00%
เพื่อไทย 4 57,025 7.12% 0 ลดลง1 0.00%
พลังชล 0 0 ลดลง6 0.00%
อื่น ๆ 176 98,387 12.37% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 212 800,109 100.00% 8 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 38,268 34.32% 27,430 24.60% 8,266 7.41% 14,877 13.34% 22,676 20.33% 111,517 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 42,427 38.67% 21,147 19.28% 20,853 19.01% 11,102 10.12% 14,175 12.92% 109,704 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 54,644 51.52% 15,038 14.18% 13,815 13.03% 10,025 9.45% 12,534 11.82% 106,056 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 4 31,261 33.09% 14,732 15.59% 9,426 9.98% 21,021 22.25% 18,029 19.09% 94,469 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 5 38,321 34.35% 43,284 38.80% 1,722 1.54% 28,223 25.31% 111,550 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 6 33,440 34.17% 39,189 40.04% 4,345 4.44% 20,900 21.35% 97,874 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 7 28,001 32.21% 31,247 35.94% 6,946 7.99% 20,749 23.86% 86,943 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 8 33,967 41.04% 25,874 31.26% 2,998 3.62% 19,919 24.08% 82,758 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 300,329 37.50% 217,941 27.21% 68,371 8.55% 57,025 7.12% 156,443 19.62% 800,109 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลสำนักบก ตำบลนาป่า ตำบลหนองรี ตำบลหนองข้างคอก ตำบลห้วยกะปิ ตำบลเหมือง ตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลาและตำบลเสม็ด)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สุชาติ ชมกลิ่น (6)* 38,268 34.32
อนาคตใหม่ ปิยะพร ธนาปิ่นชัย (8) 27,430 24.60
เพื่อไทย จำโนทย์ ปล้องอุดม (10) 14,877 13.34
ประชาธิปัตย์ สรัลชา ศรีชลวัฒนา (3) 8,362 7.50
ภูมิใจไทย บรรจบ รุ่งโรจน์ (1)✔ 8,266 7.41
เศรษฐกิจใหม่ เชวงศักดิ์ เอี่ยมสำอางค์ (4) 5,327 4.78
เสรีรวมไทย อัคระ เส็งกิ่ง (7) 5,199 4.66
สังคมประชาธิปไตยไทย ไพทูรย์ บางหรง (5) 624 0.56
ไทยศรีวิไลย์ สมเกียรติ ปานแดง (16) 436 0.39
ชาติพัฒนา เดชา ศกุนตนาคลาภ (2) 399 0.36
รวมพลังประชาชาติไทย บุษรินทร์ อารีรอบ (13) 388 0.35
พลังชาติไทย สมพร โชคชัยชาญวุฒิ (12) 296 0.27
ประชาภิวัฒน์ ปิยธิดา พรประเสริฐผล (9) 250 250
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุนทร เทพนม (20) 209 0.19
ชาติไทยพัฒนา นันทพัทธ์ สิทธิ์อมรพร (15) 178 0.16
ประชาชนปฏิรูป วิวัลยา ศิริรักษ์ (17) 162 0.15
ไทยรุ่งเรือง เปล่งศักดิ์ ชาระ (19) 160 0.14
ภาคีเครือข่ายไทย ชัยพจน์ คุณาพรวัฒน์ (26) 149 0.13
พลังประชาธิปไตย รัชวุฒิ พูลผล (23) 130 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน ชูธนะ ชัยสวัสดิ์ (21) 111 0.10
เพื่อชาติ นงลักษณ์ คงนมนาน (14) 109 0.10
พลังปวงชนไทย วาสนา รัตนวรรณ (18) 84 0.08
ไทรักธรรม นราธิป ปานทอง (25) 54 0.05
ประชานิยม ธนวันต์ ธนฤกษ์มั่นคง (22) 49 0.04
พลังท้องถิ่นไท ทวีศักดิ์ สวัสดี (11)
พลเมืองไทย อธิษฐ์ อมรินทร์ (24)
ผลรวม 111,517 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 2

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบ้านสวน ตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย ตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุและตำบลดอนหัวฬ่อ) และอำเภอพานทอง (ยกเว้นตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ร้อยเอก จองชัย วงศ์ทรายทอง (5) 42,427 38.67
อนาคตใหม่ นิพนธ์ แจ่มจำรัส (6) 21,147 19.28
ภูมิใจไทย มานิตย์ ภาวสุทธิ์ (9)✔ 20,853 19.01
เพื่อไทย สรายุทธ วงษ์แสงทอง (4) 11,102 10.12
ประชาธิปัตย์ เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ (7)✔ 6,020 5.49
เศรษฐกิจใหม่ ทิพย์วรรณ มูลศาสตร์ (16) 2,903 2.65
เสรีรวมไทย อรรถเวทย์ ชยางศุ (2) 2,707 2.47
รวมพลังประชาชาติไทย จ่าสิบเอก กูณฑ์ จีนประชา (1) 485 0.44
ไทยศรีวิไลย์ วิศิษฏ์ ใจบุญ (18) 311 0.28
สังคมประชาธิปไตยไทย ณัฐวัตร หวังสุดดี (8) 302 0.28
ชาติพัฒนา ชัยเล็ก สุวานิชย์ (3) 235 0.21
พลังชาติไทย นุจรี แก้วอุไร (14) 216 0.20
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เรือโท ธนัท อโสโก (11) 159 0.14
ไทรักธรรม ศิวพร ส่องสว่าง (25) 140 0.13
ไทยรุ่งเรือง ร้อยเอก พรชัย การศัพท์ (19) 108 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน กฤษณะ ยิ้มแย้ม (22) 107 0.10
พลังประชาธิปไตย กิตติศักดิ์ ด่านปรีดา (23) 107 0.10
ชาติไทยพัฒนา เมธ์วดี เชื้อผู้ดี (17) 96 0.09
ประชากรไทย วิชัย แสนเพชร (21) 78 0.07
เพื่อชาติ เรือเอก สุพจน์ ทวนไธสง (15) 69 0.06
ประชาภิวัฒน์ ณัฐวุฒิ รัตนประสพ (13) 63 0.06
ประชานิยม อรุณี พวงนุช (12) 50 0.05
พลังปวงชนไทย วิชญ์พล เดชศักดา (20) 19 0.02
พลังท้องถิ่นไท มะลิวัลย์ โกสุมภ์ (10)
พลเมืองไทย วรมล ท้าวฮวด (24)
ผลรวม 109,704 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 3

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเกาะจันทร์ อำเภอพนัสนิคมและอำเภอพานทอง (เฉพาะตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ รณเทพ อนุวัฒน์ (8)* 54,644 51.52
อนาคตใหม่ ภูวนาถ กาศสกุล (7) 15,038 14.18
ภูมิใจไทย ประมวล เอมเปีย (9)✔ 13,815 13.03
เพื่อไทย รินทิรา วัฒนวงษ์ภิญโญ (3) 10,025 9.45
ประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ วชิรวงศ์ภิญโญ (4) 5,458 5.15
เสรีรวมไทย ลิขิต อัศวจารุวรรณ (5) 2,422 2.28
เศรษฐกิจใหม่ พันตำรวจเอกหญิง ภัสพร บูรณะวงศ์ (17) 1,623 1.53
ผึ้งหลวง ภวัต ชอบอาภรณ์ (28) 534 0.50
ไทยศรีวิไลย์ ชัยวัฒน์ วาจาสัตย์ (19) 344 0.32
ชาติพัฒนา เสมอ ทองหยวก (6) 306 0.29
รวมพลังประชาชาติไทย ไชยอนันต์ ขวัญกิจไพศาล (2) 263 0.25
ไทยรุ่งเรือง ลาวัลย์ ยั่งยืน (13) 215 0.20
ประชาภิวัฒน์ พงศ์กรณ์ บุญอุตสาหะ (1) 176 0.17
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย วนัส ศิวะวรเวท (21) 165 0.16
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย โฆษิต อิทธิรัตนกุล (24) 124 0.12
พลังศรัทธา กำธรพล ชุ่มเย็น (22) 109 0.10
พลเมืองไทย วรวิทย์ ท้าวฮวด (27) 109 0.10
พลังชาติไทย สุดารัตน์ แซ่ตั๊น (15) 103 0.10
ประชานิยม มเหศวร แก้วนารี (10) 97 0.09
พลังประชาธิปไตย นิรัตน์ เอี่ยมประเสริฐ (25) 80 0.08
ประชาชนปฏิรูป ธเนศร์ เจริญชัย (14) 74 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน ธนกฤต ขจรทวีโชค (23) 74 0.07
สังคมประชาธิปไตยไทย เชิด นามสงคราม (11) 67 0.06
ชาติไทยพัฒนา กฤติเดช วงศ์สุนพรัตน์ (16) 66 0.06
เพื่อชาติ นาวาตรี อุดมฤทธิ์ จัตตุวัฒน์ (18) 64 0.06
มหาชน ปาริฉัตร ถาวรคง (26) 32 0.03
พลังปวงชนไทย ศิรภัสสร ทัดละม่อม (20) 29 0.03
พลังท้องถิ่นไท อุทัย เทพบุตร (12)
ผลรวม 106,056 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 4

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบ้านบึง อำเภอหนองใหญ่และอำเภอบ่อทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ (1)* 31,261 33.09
เพื่อไทย จิรวุฒิ สิงห์โตทอง (12)✔️ 21,021 22.25
อนาคตใหม่ สมชาย เนื่องจำนงค์ (10) 14,732 15.59
ประชาธิปัตย์ พายุ เนื่องจำนงค์ (2) 10,940 11.58
ภูมิใจไทย ภิญโญ ตั๊นวิเศษ (7) 9,426 9.98
เศรษฐกิจใหม่ คำนึง ศรีพุ่ม (17) 1,933 2.05
เสรีรวมไทย สุรชัย ยอดใจเย็น (5) 1,685 1.78
ไทยรุ่งเรือง เกล้ากมล เรืองรัศมีโรจน์ (21) 938 0.99
ไทยศรีวิไลย์ ธนศักดิ์ ศรีพัฒโนทัย (19) 407 0.43
ชาติไทยพัฒนา ประทุม สะไรรักษ์ (3) 327 0.35
รวมพลังประชาชาติไทย จักรพล วชิรเสวีกุล (6) 248 0.26
สังคมประชาธิปไตยไทย ชวการ พิมพ์ตะคุ (8) 224 0.24
พลังท้องถิ่นไท จักร อินทรวิชัย (11) 208 0.22
ชาติพัฒนา สุรพัฒน์ ไพรอร่าม (9) 160 0.17
ประชานิยม มั่นเศรษฐ์ ไตรชลาสินธุ์ (4) 133 0.14
มหาชน อัครวินท์ ศิริมาก (22) 133 0.14
ประชาภิวัฒน์ อดิศักดิ์ เนื่องจำนงค์ (13) 118 0.12
พลเมืองไทย ชัยเฉลิม พิทักษ์ผลิน (24) 96 0.10
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บังอร พ่อค้าพานิช (14) 83 0.09
ไทรักธรรม ศุภศิษฎิ์ สรภัสจิรพงศ์ (26) 76 0.08
ผึ้งหลวง พลไพศาล พงศ์อำนาจ (25) 64 0.07
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย กิมยิ่ง ชลพนารักษ์ (23) 59 0.06
พลังปวงชนไทย วิสิทธิ์ ทายา (20) 54 0.06
พลังชาติไทย สันติ ถนอมเนื้อ (15) 53 0.06
เพื่อชาติ บัญญัติ เย็นใจเฉื่อย (16) 52 0.06
ประชาชนปฏิรูป นาวาอากาศเอก อำไพ ไม้เจริญ (18) 38 0.04
ผลรวม 94,469 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 5

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอเกาะสีชังและอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายขวัญเลิศ พานิชมาท ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ ขวัญเลิศ พานิชมาท (3) 43,284 38.80
พลังประชารัฐ พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา (5)* 38,321 34.35
ประชาธิปัตย์ ฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์ (10)✔ 9,696 8.69
เสรีรวมไทย พงษ์วริษฐ์ วงศ์หนองแวง (8) 7,591 6.81
เศรษฐกิจใหม่ ชัญญาพรรณ ศรีสุขจิรานนท์ (10) 4,346 3.90
ภูมิใจไทย เกษม เหลืองอ่อน (7) 1,722 1.54
เพื่อชาติ ธนกร ช่อดารา (14) 1,604 1.44
พลังท้องถิ่นไท นิพาดา จันทร์ฉาย (15) 1,103 0.99
ชาติพัฒนา อังคณา สุริปัญโญ (4) 745 0.67
ไทยศรีวิไลย์ สถาพร มงคล (18) 558 0.50
สังคมประชาธิปไตยไทย มงคล ไตรพาน (6) 530 0.48
รวมพลังประชาชาติไทย ประดิษฐ์ แพรกทอง (9) 517 0.46
ชาติไทยพัฒนา จักกฤษ บุญเกิด (17) 373 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ธนัช ธาราศักดิ์ (13) 331 0.30
พลังชาติไทย จักรกริช จิตต์สมุทร (16) 169 0.15
ครูไทยเพื่อประชาชน สมศักดิ์ สุภาภรณ์ (20) 109 0.10
ไทรักธรรม พณพล ครุธดิลกานนท์ (26) 103 0.09
มติประชา สำราญ ส่งเสริม (23) 100 0.09
ไทยรุ่งเรือง สำลี รื่นอายุ (22) 79 0.07
พลังปวงชนไทย วิรัช ตรีกิตติคุณ (24) 78 0.07
ประชาภิวัฒน์ บดินทร์ ผาสุข (12) 76 0.07
มหาชน ฐิตินันทา ศิริมาก (19) 61 0.05
ประชานิยม อุดร บุญปก (11) 54 0.05
พลังชาติไทย สันติ ถนอมเนื้อ (15) 53 0.06
ไทยรักษาชาติ ร้อยตำรวจโท ธงชัย นกหงษ์ (1)
ประชาชนปฏิรูป วิสันต์ เสมอวงศ์ (21)
พลเมืองไทย กิติ์พิเชษฐ์ สุวดิษฐ์ (25)
ผลรวม 111,550 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 6

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง) และอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลบางละมุง ตำบลนาเกลือ ตำบลหนองปลาไหลและตำบลตะเคียนเตี้ย)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายจรัส คุ้มไข่น้ำ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ จรัส คุ้มไข่น้ำ (5) 39,189 40.04
พลังประชารัฐ อิทธิพล คุณปลื้ม (4)✔ 33,440 34.17
เสรีรวมไทย สุภัชกัญ รพีรัชต์ (6) 7,155 7.31
ประชาธิปัตย์ พจนารถ แก้วผลึก (2)✔ 6,582 6.72
ภูมิใจไทย สุนทร ศุภธีระนนท์ (1) 4,345 4.44
เศรษฐกิจใหม่ สุเมธ สุเมธกุล (16) 2,933 3.00
รวมพลังประชาชาติไทย นันทปรีชา คงทอง (3) 719 0.73
ไทยศรีวิไลย์ อัด ดอกนางแย้ม (18) 580 0.59
สังคมประชาธิปไตยไทย เฉลิมพล ผลาพรม (9) 414 0.42
พลังปวงชนไทย วรพล สุวรรณสบาย (19) 362 0.37
ชาติพัฒนา ณัชพล แก่นนาคำ (10) 345 0.35
พลังชาติไทย สมบัติ ทองใบ (24) 292 0.30
พลังท้องถิ่นไท ธนินท์รัฐ ภัคธรรมศิษฐ์ (12) 215 0.22
ชาติไทยพัฒนา อิศรยุช พวงศิริ (17) 212 0.22
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย รังสรรค์ วงษ์กวีวัฒนกูล (13) 157 0.16
ความหวังใหม่ สุพัฒน์ หงษ์สวัสดิ์ (27) 118 0.12
ประชานิยม ภัทรานิษฐ์ วริษฐ์พิชาพร (11) 107 0.11
พลังประชาธิปไตย ไพโรจน์ สินสมุทร (23) 104 0.11
ประชาชนปฏิรูป กษิฐิ์เดช พิชะยะพัฒน์ (15) 94 0.10
ประชาภิวัฒน์ รัฐนันท์ ปิยเดชพงศ์ธาริน (7) 89 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน ชาญชัย ตะเภาพงษ์ (22) 88 0.09
ไทยรุ่งเรือง ภิญญาพัชญ์ คเนจร ณ อยุธยา (25) 75 0.08
พลังศรัทธา อนิรุทธิ์ นาวินอุดมทรัพย์ (21) 66 0.07
ภาคีเครือข่ายไทย วสันต์ แก้วงาม (29) 61 0.06
ไทรักธรรม เกศรินทร์ มังครัตน์ (28) 49 0.05
พลเมืองไทย เชิดศักดิ์ สุวรรณศิริ (26) 45 0.05
มหาชน เนตรทราย วอนเมือง (20) 38 0.04
ไทยรักษาชาติ นิศามาศ เลาหรัตนาหิรัญ (8)
เพื่อชาติ ผกามาส ช่วงชิง (14)
ผลรวม 97,874 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 7

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลเขาไม้แก้ว ตำบลโป่ง ตำบลหนองปรือและตำบลห้วยใหญ่)

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นางสาวกวินนาถ ตาคีย์ ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคพลังท้องถิ่นไทในเวลาต่อมา[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ กวินนาถ ตาคีย์ (13) 31,247 35.94
พลังประชารัฐ ปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ (6)* 28,001 32.21
เสรีรวมไทย สุไอนี เจริญสุข (5) 7,708 8.87
ภูมิใจไทย ปพน ประยูรหงษ์ (11) 6,946 7.99
ประชาธิปัตย์ จักกฤช ไกรมาตย์ (8) 5,243 6.03
เศรษฐกิจใหม่ สุธาทิพย์ มนต์ประสิทธิ์ (16) 2,256 2.59
เพื่อชาติ นาวาโท สุทัศน์ วงศ์ปรีดี (15) 1,383 1.59
รวมพลังประชาชาติไทย พีรพัทธ์ ธีรธันยรัก (1) 690 0.79
ชาติพัฒนา สุรใจ อัตตนาถ (4) 670 0.77
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย อำพล จันทร์เทียน (10) 336 0.39
ชาติไทยพัฒนา ปรีชา รุ่งโชติอนันต์ (17) 289 0.33
ไทยศรีวิไลย์ นงนารถ สลับดี (23) 273 0.31
พลังชาติไทย สุจินต์ หนองใหญ่ (14) 259 0.30
พลังท้องถิ่นไท ตะวัน แจ่มกระจ่าง (12) 244 0.28
ประชาภิวัฒน์ รักเกียรติ กิจธรรมเจริญ (7) 229 0.26
สังคมประชาธิปไตยไทย อนุชา แก่ค้างพลู (2) 164 0.19
ไทยรุ่งเรือง อำนาจ แจ่มจันทร์ (20) 148 0.17
พลังปวงชนไทย นุกูล คงชุบ (19) 137 0.16
ประชานิยม นิวัฒน์ ธรรมสาธิต (9) 136 0.16
ไทรักธรรม ชยุต ธนุภาพธัญนพ (26) 129 0.15
พลังศรัทธา ลัดดาวัลย์ คล้ายสอน (21) 117 0.13
พลเมืองไทย สุพี อินทรมาร (24) 115 0.13
ครูไทยเพื่อประชาชน กนกพร ฮาซัน (22) 104 0.12
ประชาชนปฏิรูป พัฒน์นรี บุญชั้น (18) 64 0.07
ผึ้งหลวง นุชนาถ พิทักษ์กุศลธิติ (25) 55 0.06
เพื่อไทย ษรกฤต ผลลูกอินทร์ (3)
ผลรวม 86,943 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังชล

เขต 8

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอสัตหีบ

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา[4] และได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566[5]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สะถิระ เผือกประพันธุ์ (8) 33,967 41.04
อนาคตใหม่ นาวาตรี สุรสิทธิ์ ทะวะลัย (11) 25,874 31.26
เสรีรวมไทย ธเนศพล เอกกลาง (4) 5,865 7.09
ประชาธิปัตย์ ไมตรี สอยเหลือง (3)✔ 5,755 6.95
ภูมิใจไทย พลเรือเอก สุรพล จันทน์แดง (7)* 2,998 3.62
เพื่อชาติ ศศิมาภรณ์ ชมไพร (15) 2,518 3.04
เศรษฐกิจใหม่ ปารย์รวี ศรีโสม (13) 2,313 2.79
ชาติพัฒนา อนุชา ชุบสัมฤทธิ์ (1) 489 0.59
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย วิทวัส สามารถ (10) 389 0.47
ไทยศรีวิไลย์ ศิรเศรษฐ์ อภิชัจหรรษกร (21) 353 0.43
ชาติไทยพัฒนา พลเรือตรี พูลสุข บุนนาค (16) 332 0.40
รวมพลังประชาชาติไทย อภิสัณห์ วัฒนานิรันดร์กุล (9) 322 0.39
พลังชาติไทย พลเรือตรี ธรรมนูญ กสิโกศล (12) 276 0.33
พลเมืองไทย บุษยมาศ โกเมฆ (24) 170 0.21
สังคมประชาธิปไตยไทย พรทิพย์ แสนทวีสุข (5) 163 0.20
ประชาชนปฏิรูป พลเรือโท สุธี เมนะโพธิ (14) 157 0.19
พลังท้องถิ่นไท ประกิจ หมื่นศรี (22) 134 0.16
ประชานิยม พอสกัณห์ ธนฤกษ์มั่นคง (3) 126 0.15
ครูไทยเพื่อประชาชน นาวาตรี ดำรงชาติ รอดชีวัน (19) 112 0.14
ผึ้งหลวง ศิริลัคน์ คำศรี (25) 109 0.13
พลังประชาธิปไตย ปิยวัฒน์ ศรีคำดี (20) 81 0.10
ไทรักธรรม สุพรวิเณศน์ พานเกล้า (26) 80 0.10
พลังปวงชนไทย นาวาโท สมเกียรติ อุปถัมภ์ชาติ (17) 63 0.08
ไทยรุ่งเรือง แสนไพศาล บูลย์พัชร (18) 59 0.07
ประชาภิวัฒน์ กุลรัชฎา วโรทัย (23) 53 0.06
ไทยรักษาชาติ นิชนันท์ วังคะฮาต (6)
ผลรวม 82,758 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
  2. 2.0 2.1 ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.
  3. "ด่วน! ที่ประชุมใหญ่อนาคตใหม่ มติขับ 4 ส.ส.งูเห่า ออกจากพรรค". มติชนออนไลน์. 2019-12-16.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. ""พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว". bangkokbiznews. 2022-01-28.
  5. ""สะถิระ – สุรทิน" ลาออก เหลือ ส.ส.ทำหน้าที่ 423 คน ด้าน "สุรทิน" ปูดข่าว ยุบสภาฯ 9 มี.ค.นี้". MCOT NEWS FM 100.5. 2023-02-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-02. สืบค้นเมื่อ 2023-08-01.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya