Share to:

 

จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ 2566 →

1 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน172,019
ผู้ใช้สิทธิ74.04%
  First party Second party Third party
 
Thanathorn Juangroongruangkit - 2.jpg
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
Prayuth 2018 cropped.jpg
พรรค อนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 Steady0
คะแนนเสียง 36,744 30,642 23,417
% 31.17 25.99 19.86

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคอนาคตใหม่

จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

แบ่งตามพรรค

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
อนาคตใหม่ 1 36,744 31.17% 1 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ประชาธิปัตย์ 1 30,642 25.99% 0 ลดลง1 0.00%
พลังประชารัฐ 1 23,417 19.86% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 22 27,076 22.98% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 25 117,879 100.00% 1 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต

เขตเลือกตั้ง อนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 36,744 31.17% 30,642 25.99% 23,417 19.86% 27,076 22.98% 117,879 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 36,744 31.17% 30,642 25.99% 23,417 19.86% 27,076 22.98% 117,879 100.00%

เขตเลือกตั้ง

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดตราดทั้งจังหวัด

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายศักดินัย นุ่มหนู ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตราด เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ ศักดินัย นุ่มหนู (9) 36,744 31.17
ประชาธิปัตย์ ธีระ สลักเพชร (3)* 30,642 25.99
พลังประชารัฐ วุฒิกร โลหะคุปต์ (4) 23,417 19.86
ภูมิใจไทย วศิน พงษ์ศิริ (7) 6,310 5.35
เสรีรวมไทย คมศักดิ์ ศักดิ์เพชรพลอย (12) 5,667 4.81
รวมพลังประชาชาติไทย กิตติธัช ไชยอรรถ (13) 2,861 2.43
เพื่อชาติ พัชรี มนัสสนิท (2) 2,786 2.36
เศรษฐกิจใหม่ สุภาพ นิยม (19) 1,997 1.69
ชาติพัฒนา ไกรสีห์ รัตนเศียร (1) 1,433 1.22
ประชาชาติ พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ รมยานนท์ (10) 1,409 1.20
ประชาธรรมไทย สาวิตรี สืบสอน (21) 543 0.46
ประชานิยม ไสว ชัยบุญเรือง (5) 513 0.44
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย อำพร แพทย์ศาสตร์ (15) 498 0.42
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ลัดดา แขวงอุบล (23) 439 0.37
ไทยศรีวิไลย์ กริ่ม หาญพัฒน์ (14) 436 0.37
ทางเลือกใหม่ เอกอรุณ มีวรรณ (11) 400 0.34
พลังท้องถิ่นไท สัมภาษณ์ อัศวภูมิ (6) 324 0.27
พลังสังคม ไพรัตน์ เกษโกวิท (24) 275 0.23
ครูไทยเพื่อประชาชน ธัญวรินทร์ แดงอาจ (22) 256 0.22
ชาติไทยพัฒนา วีระชัย จูห้อง (17) 235 0.20
พลังชาติไทย สุวรรณ สงวนหงษ์ (18) 225 0.19
ประชาภิวัฒน์ รัฐ อภิบาลศรี (16) 189 0.16
ประชากรไทย ธนินท์ธร เกษรมาลา (20) 148 0.13
ไทรักธรรม ชูเกียรติ บางขุนทด (25) 132 0.11
ไทยรักษาชาติ ทินวัฒน์ เจียมอุย (8)
ผลรวม 117,879 100.00
บัตรดี 117,879 92.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,428 1.91
บัตรเสีย 7,045 5.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 127,357 74.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 172,749 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
  2. ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya