Share to:

 

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน420,077
ผู้ใช้สิทธิ76.44%
  First party Second party Third party
 
Thanathorn Juangroongruangkit - 2.jpg
Prayuth 2018 cropped.jpg
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
พรรค อนาคตใหม่ พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 3
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0 ลดลง3
คะแนนเสียง 88,242 80,319 48,323
% 30.23 27.52 16.56

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคอนาคตใหม่

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

แบ่งตามพรรค

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
อนาคตใหม่ 3 88,242 30.23% 3 เพิ่มขึ้น3 100.00%
พลังประชารัฐ 3 80,319 27.52% 0 Steady 0.00%
ประชาธิปัตย์ 3 48,323 16.56% 0 ลดลง3 0.00%
อื่น ๆ 74 75,003 25.69% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 95 291,887 100.00% 3 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต

เขตเลือกตั้ง อนาคตใหม่ พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 26,805 29.37% 25,661 28.12% 12,589 13.79% 26,213 28.72% 91,268 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 2 28,750 30.00% 27,766 28.97% 19,711 20.57% 19,607 20.46% 95,834 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 3 32,687 31.19% 26,892 25.66% 16,023 15.29% 29,183 27.86% 104,785 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 88,242 30.23% 80,319 27.52% 48,323 16.56% 75,003 25.69% 291,887 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองจันทบุรีและอำเภอแหลมสิงห์

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง พันตำรวจโท ฐนภัทร กิตติวงศา ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคพลังประชารัฐในเวลาต่อมา[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดจันทบุรี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ พันตำรวจโทฐนภัทร กิตติวงศา (12) 26,805 29.37
พลังประชารัฐ ธวัชชัย อนามพงษ์ (15)* 25,661 28.12
ภูมิใจไทย มงคล ศรีคำแหง (1) 14,692 16.10
ประชาธิปัตย์ ปวีณา จริยฐิติพงศ์ (9) 12,589 13.79
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท สำเร็จ ใจสุทธิ (6) 4,360 4.78
เศรษฐกิจใหม่ เอกพิพัฒน์ ศรีประสงค์ (19) 1,911 2.09
เพื่อชาติ พันตำรวจโท ศาสตราวัต สกุลนาธรรม (3) 1,104 1.21
รวมพลังประชาชาติไทย ไพโรจน์ ลิมป์ธนวงศ์ (8) 575 0.63
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุเทพ ปวเรศวิทยาฬาร (11) 455 0.50
ชาติไทยพัฒนา สมปอง โสมภีร์ (13) 369 0.40
ครูไทยเพื่อประชาชน รุ่ง มนต์ประสิทธิ์ (14) 364 0.40
พลังท้องถิ่นไท อัศจรรย์ อานามวงษ์ (5) 356 0.39
รวมใจไทย สันทัด สร้อยศรี (21) 304 0.33
ประชาธรรมไทย บุศรา ไชยรัตน์ติเวช (7) 300 0.33
ประชาธิปไตยใหม่ พันตำรวจเอก สมคิด พละเดช (16) 284 0.31
ไทยศรีวิไลย์ มาโนช ตรงชื่น (17) 249 0.27
ชาติพันธุ์ไทย สงคราม กุศลส่ง (17) 183 0.20
พลเมืองไทย สันติ พลอยล้อมเพชร (10) 181 0.20
ประชาภิวัฒน์ ปิติพัฒน์ โรจน์ธนารันต์ (4) 96 0.11
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สมศร ผดุงพรรค (24) 85 0.09
กรีน สิทธิชัย สุวดิษฐ์ (23) 76 0.08
ประชาชนปฏิรูป สุภัค คำมี (22) 65 0.07
พลังชาติไทย กฤตพัฒน์ สุขภาคกิจ (27) 57 0.06
ไทรักธรรม อุดม อ่องสิทธิ์ (26) 52 0.06
พลังไทยดี สมชาย ฉากเขียน (20) 50 0.05
ประชานิยม สุปัญญา เถลิงพงษ์ (18) 45 0.05
ไทยรักษาชาติ จิรชัย เขาหนองบัว (2)
ผลรวม 91,268 100.00
บัตรดี 91,268 92.60
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,236 2.27
บัตรเสีย 5,052 5.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,556 77.66
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,903 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าใหม่ อำเภอนายายอาม อำเภอแก่งหางแมวและอำเภอเขาคิชฌกูฏ

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายจารึก ศรีอ่อน ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคพลังท้องถิ่นไทในเวลาต่อมา[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดจันทบุรี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ จารึก ศรีอ่อน (3) 28,750 30.00
พลังประชารัฐ ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา (1)* 27,766 28.97
ประชาธิปัตย์ ชาติชาย วรพิพัฒน์ (16) 19,711 20.57
เสรีรวมไทย ธนกร โฉมเฉลา (10) 7,071 7.38
ภูมิใจไทย มนตรี พงษ์เจริญ (11) 2,216 2.31
ชาติไทยพัฒนา สัมพันธ์ จันทร์ดำ (15) 2,044 2.13
เศรษฐกิจใหม่ จักราวุธ สีหาพงษ์ (20) 1,265 1.32
รวมพลังประชาชาติไทย สรรเพ็ชร พัฒนสิงห์ (7) 920 0.96
เพื่อชาติ มารุต พิสุทธิพันธ์พงศ์ (17) 747 0.78
ชาติพันธุ์ไทย เฉิน ผันผาย (26) 621 0.65
พลังชาติไทย ภูมิมินทร์ อินทร์สุข (21) 532 0.56
ประชาธิปไตยใหม่ สุชาติ บุญสิทธิ์ (5) 469 0.49
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สุรศักดิ์ ศิริชาตรี (25) 441 0.46
ไทยศรีวิไลย์ เรือตรี เสกสรรค์ ทองศรี (12) 395 0.41
ประชาธรรมไทย อ๊อด ไกรนิวรณ์ (4) 372 0.39
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มัชฌิมา สารเจริญ (6) 370 0.39
พลังท้องถิ่นไท สุพรชัย สายพานิช (8) 364 0.38
ฐานรากไทย บุญภูวนาถ เจ๊ะหมวก (13) 328 0.34
ประชาชนปฏิรูป โรจนะ สวัสดี (14) 271 0.28
ประชาภิวัฒน์ นเรนทร์ฤทธิ์ แสนหาญ (9) 234 0.24
พลังไทยดี สุภัทริดา อินทร์อ่ำ (23) 217 0.23
ทางเลือกใหม่ ประพันธ์ บุญมี (22) 202 0.21
ไทรักธรรม อิสราภรณ์ เจริญทรัพย์ (27) 172 0.18
ครูไทยเพื่อประชาชน ชูศักดิ์ ศรีสมบูรณ์ (18) 154 0.16
ประชานิยม ประพันธ์ ประจงจัด (19) 104 0.11
กรีน วิษณุ พันธุสิงห์ (24) 98 0.10
ไทยรักษาชาติ มานะ ชนะสิทธิ์ (2)
ผลรวม 95,834 100.00
บัตรดี 95,834 89.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,488 2.34
บัตรเสีย 8,173 7.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 106,495 76.69
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,872 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 3

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน อำเภอมะขามและอำเภอขลุง

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นางสาวญาณธิชา บัวเผื่อน ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดจันทบุรี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ ญาณธิชา บัวเผื่อน (7) 32,687 31.19
พลังประชารัฐ แสนคม อนามพงษ์ (11) 26,892 25.66
ประชาธิปัตย์ ชรัตน์ เนรัญชร (10) 16,023 15.29
ภูมิใจไทย ประพันธ์ จึงสกุลวัฒนา (4) 9,879 9.43
เสรีรวมไทย วชิรวิชญ์ จันทร์เขียว (12) 6,310 6.02
เพื่อชาติ พันตำรวจตรี ประสิทธิ์ บุญเจริญ (3) 4,106 3.92
ชาติไทยพัฒนา สุชีพ ทองสร้าง (16) 2,288 2.18
เศรษฐกิจใหม่ เบญจมาศ กลั่นกสิกรณ์ (28) 1,149 1.10
รวมพลังประชาชาติไทย สมชาย คีรีธาร (13) 711 0.68
ประชานิยม เพียงตะวัน ชิ้นประยูรณ์ (1) 566 0.54
ประชาภิวัฒน์ ชัยพร วรลี (5) 515 0.49
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สมหมาย สรรพคุณ (6) 498 0.48
ไทยศรีวิไลย์ วัลลภ นุชวงษ์ (15) 425 0.41
ประชาธรรมไทย กฤษณพันธุ์ พันธศรีนิธิศ (2) 307 0.29
ประชาธิปไตยใหม่ พันตำรวจโท ประจักษ์ ปัตตะ (14) 306 0.29
พลังชาติไทย พันตำรวจโท ประสิทธิ์ ชัยวงศ์ (25) 252 0.24
ประชาชนปฏิรูป ธนิดา พรมอ่อน (27) 252 0.24
พลังท้องถิ่นไท อิศวะ เทียนหลง (8) 247 0.24
เพื่อแผ่นดิน แตงไทย สระกองทอง (21) 240 0.23
ทางเลือกใหม่ สมยศ มาเพิ่มผล (18) 227 0.22
ภาคีเครือข่ายไทย ประสิทธิ์ นวลสำลี (23) 210 0.20
ฐานรากไทย กชอาภา ทรงธรรม (24) 156 0.15
กรีน จิราพร นาโถจำรัส (24) 148 0.14
ครูไทยเพื่อประชาชน ปราโมทย์ หยกจินดา (20) 141 0.13
ไทรักธรรม นพธนชัย วสุชัยพิโรดม (29) 119 0.11
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย วิเชียร โชติสำราญ (22) 73 0.07
พลังไทยดี สุมนา แสงทอง (19) 58 0.06
ไทยรักษาชาติ เกรียงเดช เข็มทอง (9)
พลังประชาธิปไตย บุญฤทธิ์ คนชม (26)
ผลรวม 104,785 100.00
บัตรดี 104,785 90.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,468 2.13
บัตรเสีย 8,814 7.59
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 116,067 75.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 154,302 100
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
  2. 2.0 2.1 "ด่วน! ที่ประชุมใหญ่อนาคตใหม่ มติขับ 4 ส.ส.งูเห่า ออกจากพรรค". มติชนออนไลน์. 2019-12-16.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya