จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 10 เขตเลือกตั้ง[1] ลดลงจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
เพื่อไทย |
10 |
347,617 |
36.22% |
7 |
|
70.00%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
10 |
97,286 |
10.14% |
2 |
1 |
20.00%
|
|
พลังประชารัฐ |
10 |
257,357 |
26.82% |
1 |
1 |
10.00%
|
|
อนาคตใหม่ |
10 |
112,230 |
11.69% |
0 |
|
0.00%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
10 |
9,884 |
1.03% |
0 |
1 |
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
317 |
135,262 |
14.10% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
367 |
959,636 |
100.00% |
10 |
1 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
36.22% |
ประชาธิปัตย์ |
|
10.14% |
พลังประชารัฐ |
|
26.82% |
อนาคตใหม่ |
|
11.68% |
ชาติไทยพัฒนา |
|
1.03% |
อื่น ๆ |
|
14.07% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
70.00% |
ประชาธิปัตย์ |
|
20.00% |
พลังประชารัฐ |
|
10.00% |
|
เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า
เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
498,876 |
55.82%
|
347,617
|
36.22% |
19.60%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
274,089 |
30.67%
|
97,286
|
10.14% |
20.53%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
257,357
|
26.82% |
26.82%
|
|
อนาคตใหม่ |
– |
–
|
112,230
|
11.69% |
11.69%
|
|
อื่น ๆ |
120,763 |
13.51%
|
145,146
|
15.13% |
1.62%
|
ผลรวม |
893,728 |
100.00%
|
959,636
|
100.00% |
–
|
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
417,322 |
46.56%
|
347,617
|
36.22% |
10.34%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
247,493 |
27.61%
|
97,286
|
10.14% |
17.47%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
257,357
|
26.82% |
26.82%
|
|
อนาคตใหม่ |
– |
–
|
112,230
|
11.69% |
11.69%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
79,734 |
8.90%
|
9,884
|
1.03% |
7.87%
|
|
ชาติพัฒนา |
136,082 |
15.18%
|
1,893
|
0.20% |
14.98%
|
|
อื่น ๆ |
15,773 |
1.76%
|
133,369
|
13.90% |
12.14%
|
ผลรวม |
896,404 |
100.00%
|
959,636
|
100.00% |
–
|
แบ่งตามเขต
เขตเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด)
เขต 2
เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเขื่องในและอำเภอม่วงสามสิบ
เขต 3
เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอวารินชำราบและอำเภอนาเยีย
เขต 4
เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)
เขต 5
เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอเหล่าเสือโก้ก อำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น
เขต 6
เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ อำเภอนาตาล อำเภอโพธิ์ไทรและอำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง)
ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา [2]
เขต 7
เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอโขงเจียม อำเภอตาลสุม อำเภอดอนมดแดง อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด) และอำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง)
เขต 8
เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอสว่างวีระวงศ์ อำเภอพิบูลมังสาหารและอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย)
เขต 9
เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอนาจะหลวย อำเภอบุณฑริกและอำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย)
เขต 10
เขตเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยอำเภอน้ำยืน อำเภอน้ำขุ่น อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอสำโรงและอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|