จังหวัดสุโขทัยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 จังหวัดสุโขทัยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
|
← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) |
24 มีนาคม พ.ศ. 2562 |
พ.ศ. 2566 → |
| 3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 480,022 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 74.34% |
---|
|
First party
|
Second party
|
Third party
|
|
|
|
|
พรรค
|
พลังประชารัฐ
|
ภูมิใจไทย
|
เพื่อไทย
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
พรรคใหม่
|
2
|
0
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
2
|
1
|
0
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
2
|
1
|
0
|
คะแนนเสียง
|
116,509
|
37,300
|
85,693
|
%
|
35.10
|
11.29
|
25.94
|
|
|
Fourth party
|
|
|
|
|
พรรค
|
ประชาธิปัตย์
|
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
2
|
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
0
|
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
2
|
|
คะแนนเสียง
|
36,554
|
|
%
|
11.06
|
|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2557 แต่ลดลงจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
พลังประชารัฐ |
3 |
116,509 |
35.27% |
2 |
2 |
66.67%
|
|
ภูมิใจไทย |
3 |
37,300 |
11.29% |
1 |
1 |
33.33%
|
|
เพื่อไทย |
3 |
85,693 |
25.94% |
0 |
|
0.00%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
3 |
36,554 |
11.07% |
0 |
2 |
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
69 |
54,316 |
16.44% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
81 |
330,372 |
100.00% |
3 |
1 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
พลังประชารัฐ |
|
35.27% |
ภูมิใจไทย |
|
11.29% |
เพื่อไทย |
|
25.94% |
ประชาธิปัตย์ |
|
11.07% |
อื่น ๆ |
|
16.44% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
พลังประชารัฐ |
|
66.67% |
ภูมิใจไทย |
|
33.33% |
|
เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า
เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
116,509
|
35.27% |
35.27%
|
|
ภูมิใจไทย |
34,017 |
10.69%
|
37,300
|
11.29% |
0.60%
|
|
เพื่อไทย |
107,798 |
33.88%
|
85,693
|
25.94% |
7.94%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
137,626 |
43.25%
|
36,554
|
11.07% |
32.18%
|
|
อื่น ๆ |
38,739 |
12.18%
|
54,316
|
16.44% |
4.26%
|
ผลรวม |
318,180 |
100.00%
|
330,372
|
100.00% |
–
|
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
116,509
|
35.27% |
35.27%
|
|
ภูมิใจไทย |
106,034 |
33.77%
|
37,300
|
11.29% |
22.48%
|
|
เพื่อไทย |
63,407 |
20.19%
|
85,693
|
25.94% |
5.75%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
91,860 |
29.25%
|
36,554
|
11.07% |
18.18%
|
|
อื่น ๆ |
52,725 |
16.79%
|
54,316
|
16.44% |
0.35%
|
ผลรวม |
314,026 |
100.00%
|
330,372
|
100.00% |
–
|
แบ่งตามเขต
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอศรีสำโรงและอำเภอกงไกรลาศ (เฉพาะตำบลไกรกลาง ตำบลไกรใน ตำบลกกแรตและตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
เขต 2
เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งเสลี่ยม อำเภอบ้านด่านลานหอย อำเภอคีรีมาศและอำเภอกงไกรลาศ (ยกเว้นตำบลไกรกลาง ตำบลไกรใน ตำบลกกแรตและตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
เขต 3
เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสวรรคโลก อำเภอศรีนครและอำเภอศรีสัชนาลัย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|