จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
ผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ[1] ว่าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีจากพรรคพลังประชารัฐจำนวน 3 ราย คือ เขต 1 คือ กุลวลี นพอมรบดี บุตรสาวนายมานิต นพอมรบดี และนางกอบกุล นพอมรบดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี, เขต 2 คือ บุญยิ่ง นิติกาญจนา ประธานสโมสรราชบุรี มิตรผล เอฟซี[2] และเขต 3 คือ ปารีณา ไกรคุปต์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีหลายสมัย และบุตรสาวของนายทวี ไกรคุปต์ พรรคประชาธิปัตย์ในเขต 4 คือ อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ และพรรคภูมิใจไทยในเขต 5 คือ บุญลือ ประเสริฐโสภา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นที่น่าสังเกตว่า พรรคภูมิใจไทย ซึ่งมีฐานเสียงเดิมในจังหวัดราชบุรีที่มีแกนนำอย่างนายสรอรรถ กลิ่นประทุม ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไทย มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลดลงในจังหวัดราชบุรี และท้ายที่สุดคะแนนเสียงของพรรคอนาคตใหม่มีมากจนติดสามอันดับแรกในเกือบทุกเขตเลือกตั้ง
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
พลังประชารัฐ |
5 |
174,818 |
34.68% |
3 |
3 |
60.00%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
5 |
101,862 |
20.21% |
1 |
1 |
20.00%
|
|
ภูมิใจไทย |
5 |
94,343 |
18.71% |
1 |
3 |
20.00%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
5 |
1,440 |
0.29% |
0 |
1 |
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
113 |
131,663 |
26.12% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
133 |
504,126 |
100.00% |
5 |
|
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
พลังประชารัฐ |
|
34.68% |
ประชาธิปัตย์ |
|
20.21% |
ภูมิใจไทย |
|
18.71% |
ชาติไทยพัฒนา |
|
0.29% |
อื่น ๆ |
|
26.12% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
พลังประชารัฐ |
|
60.00% |
ประชาธิปัตย์ |
|
20.00% |
ภูมิใจไทย |
|
20.00% |
|
เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า
เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
174,818
|
34.68% |
34.68%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
213,252 |
45.16%
|
101,862
|
20.21% |
24.95%
|
|
ภูมิใจไทย |
48,425 |
10.25%
|
94,343
|
18.71% |
8.46%
|
|
เพื่อไทย |
151,681 |
32.12%
|
–
|
– |
32.12%
|
|
อื่น ๆ |
58,885 |
12.47%
|
133,103
|
26.41% |
13.94%
|
ผลรวม |
472,243 |
100.00%
|
504,126
|
100.00% |
–
|
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
174,818
|
34.68% |
34.68%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
137,240 |
29.32%
|
101,862
|
20.21% |
9.11%
|
|
ภูมิใจไทย |
143,303 |
30.62%
|
94,343
|
18.71% |
11.91%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
44,538 |
9.52%
|
1,440
|
0.29% |
9.23%
|
|
เพื่อไทย |
140,871 |
30.10%
|
–
|
– |
30.10%
|
|
อื่น ๆ |
2,084 |
0.45%
|
131,663
|
26.12% |
25.67%
|
ผลรวม |
468,036 |
100.00%
|
504,126
|
100.00% |
–
|
แบ่งตามเขต
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต [1]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)[3]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
พลังประชารัฐ
|
กุลวลี นพอมรบดี (9)
|
39,158
|
38.78
|
|
|
ภูมิใจไทย
|
เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์ (8)
|
24,214
|
23.98
|
|
|
อนาคตใหม่
|
ศรราม พรหมากร (14)
|
18,196
|
18.02
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
กัลยา ศิริเนาวกุล (3)
|
10,848
|
10.74
|
|
|
เสรีรวมไทย
|
วัณธ์เทวินทร เศวตรฐนโภคิน (6)
|
2,788
|
2.76
|
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
ประวิทย์ คงเพชร (22)
|
1,727
|
1.71
|
|
|
เพื่อชาติ
|
ชญานี เสือเดช (2)
|
1,189
|
1.18
|
|
|
พลังธรรมใหม่
|
พันเอก ยุทธพงศ์ พิณประภัศร์ (11)
|
385
|
0.38
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
พนมกร กิจโพธิญาณ (7)
|
376
|
0.37
|
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
วิรัตน์ เอกรุณ (13)
|
331
|
0.33
|
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
กุลโรจน์ บุญเกิด (10)
|
266
|
0.26
|
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
พันโท วรเศรษฐ์ วสุวรเศรษฐ์ (4)
|
257
|
0.25
|
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
ร้อยตำรวจเอก รัฐภูมิ โพธิ์ศรีดา (1)
|
234
|
0.23
|
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
วราพงษ์ โพธิ์ทองคำ (18)
|
184
|
0.18
|
|
|
กรีน
|
วิเชียร ชีนะ (17)
|
141
|
0.14
|
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
สม อุตสาห์วัน (15)
|
127
|
0.13
|
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
ธำรงค์ พานิชเจริญ (19)
|
119
|
0.12
|
|
|
พลังชาติไทย
|
ชไมพร พงษ์สุทัศน์ (21)
|
93
|
0.09
|
|
|
ประชานิยม
|
สมพงค์ โซเซ็ง (12)
|
91
|
0.09
|
|
|
มหาชน
|
เฉลียว เพิ่มผล (23)
|
64
|
0.06
|
|
|
แผ่นดินธรรม
|
สุคุณวัต ศรีอำไพวิวัฒน์ (24)
|
52
|
0.05
|
|
|
ไทรักธรรม
|
ทรงเกียรติ ไตรรัตน์รังษี (25)
|
49
|
0.05
|
|
|
ไทยรุ่งเรือง
|
โสภณ ปภัสสรานนท์ (16)
|
42
|
0.04
|
|
|
ถิ่นกาขาวชาววิไล
|
กริษฐา สุวรรณหงษ์ (20)
|
34
|
0.03
|
|
|
ไทยรักษาชาติ
|
ประวิทย์ ลิ้มเจริญ (5)†
|
—
|
—
|
|
ผลรวม
|
100,965
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
100,965
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,908
|
1.70
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,047
|
4.48
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
112,564
|
82.27
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
136,830
|
100
|
—
|
|
พลังประชารัฐ
ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย
|
เขต 2
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวัดเพลง อำเภอปากท่อ อำเภอบ้านคา อำเภอสวนผึ้ง และอำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)[3]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
พลังประชารัฐ
|
บุญยิ่ง นิติกาญจนา (11)*
|
40,030
|
40.01
|
|
|
ภูมิใจไทย
|
พงษ์ศักดิ์ กิจประเสริฐ (4)
|
30,592
|
30.58
|
|
|
อนาคตใหม่
|
สมชาย สรสิทธิ์ (2)
|
14,597
|
14.59
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
พันตำรวจโท สันทัด เจียมสกุล (7)
|
6,271
|
6.27
|
|
|
เสรีรวมไทย
|
บุญชอบ ปิ่นทอง (3)
|
2,520
|
2.52
|
|
|
เพื่อชาติ
|
เพียงพงศ์ ประเสริฐศักดิ์ (20)
|
972
|
0.97
|
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
พีรพัฒน์ คงเพ็ชร (22)
|
836
|
0.84
|
|
|
พลังธรรมใหม่
|
ทองพูน ช้างเพชร (5)
|
585
|
0.58
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
นิธิภัทร์ ชิณโชติวรสิทธิ์ (10)
|
554
|
0.55
|
|
|
กรีน
|
เกรียงไกร ชีช่วง (17)
|
391
|
0.39
|
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
โชคชัย ธนกิจพานิช (1)
|
374
|
0.37
|
|
|
มหาชน
|
บุญธรรม ทินรุ่ง (24)
|
355
|
0.35
|
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
เรืองยศ ตีวกุล (12)
|
324
|
0.32
|
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
พันธุ์ทิพา ตั้งวิจิตรเจนการ (6)
|
249
|
0.25
|
|
|
พลังไทยรักชาติ
|
สุธน สามเสน (25)
|
178
|
0.18
|
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
ละเอียด บุญเยาว์ (14)
|
172
|
0.17
|
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
เด่น สุขอาษา (19)
|
168
|
0.17
|
|
|
ประชานิยม
|
วัลลภ ผลบุณยรักษ์ (8)
|
152
|
0.15
|
|
|
ถิ่นกาขาวชาววิไล
|
สิทธิชัย อรชร (21)
|
128
|
0.13
|
|
|
ไทยรุ่งเรือง
|
บุญดี ทำสะอาด (18)
|
112
|
0.11
|
|
|
พลังชาติไทย
|
อภิเดช ทุยประสิทธิ์ (23)
|
112
|
0.11
|
|
|
ไทรักธรรม
|
บุญเสริม หอมฟุ้ง (27)
|
107
|
0.11
|
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
มธุรส จีระ (13)
|
90
|
0.09
|
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
วิเชียร พันหล่อมโส (16)
|
76
|
0.08
|
|
|
แผ่นดินธรรม
|
ศศินันท์ รุ่งกิจเกียรติคุณ (15)
|
48
|
0.05
|
|
|
ประชากรไทย
|
ดาวรุ่ง โตจิ๋ว (26)
|
45
|
0.04
|
|
|
ไทยรักษาชาติ
|
เมธาวี หงษ์มนัส (9)†
|
—
|
—
|
—
|
ผลรวม
|
100,038
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
100,038
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,466
|
1.35
|
–
|
บัตรเสีย
|
6,899
|
6.36
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
108,403
|
83.53
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
129,784
|
100
|
—
|
|
พลังประชารัฐ
ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย
|
เขต 3
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอจอมบึงและอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)[3]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
พลังประชารัฐ
|
ปารีณา ไกรคุปต์ (13)*
|
46,409
|
45.52
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์ (9)
|
29,423
|
28.86
|
|
|
อนาคตใหม่
|
วรชาติ ภูมิอุไร (11)
|
15,621
|
15.32
|
|
|
เสรีรวมไทย
|
ณัฐทนันต์ นิธิภณยางสง่า (10)
|
2,514
|
2.47
|
|
|
เพื่อชาติ
|
สิบเอก ปริญญา ไพบูลย์สิทธิ์ (12)
|
1,526
|
1.50
|
|
|
ภูมิใจไทย
|
กล้าหาญ เจริญธรรม (2)
|
1,407
|
1.38
|
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
จด แหยมศิริ (23)
|
1,076
|
1.06
|
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
ประพันธ์ ประสิทธิ์กุล (3)
|
439
|
0.43
|
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
รัชภูมิ ทองลิ่ม (19)
|
437
|
0.43
|
|
|
ประชานิยม
|
ฑิฆัมพร โปร่งจิต (8)
|
431
|
0.42
|
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
ชิตพล เชี่ยวอุดมทรัพย์ (5)
|
375
|
0.37
|
|
|
ไทรักธรรม
|
พิมพ์นารา เกิดทิน (29)
|
313
|
0.31
|
|
|
พลังธรรมใหม่
|
ลลิตา พุกโสภา (14)
|
274
|
0.27
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
ตระกูล โพธิ์เรือง (7)
|
242
|
0.24
|
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
พันตรี ณรรรร์ สุภาพ (4)
|
222
|
0.22
|
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
วีระ ทองเกิด (6)
|
194
|
0.19
|
|
|
พลังประชาธิปไตย
|
วรายุ ภู่ระหงษ์ (15)
|
175
|
0.17
|
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
พิรัช รองรัตน์ (16)
|
141
|
0.14
|
|
|
พลังชาติไทย
|
ร้อยตรี บุญปลูก ศรีประทุม (22)
|
136
|
0.13
|
|
|
ทางเลือกใหม่
|
ชาญสิทธิ์ คำเทศ (28)
|
118
|
0.12
|
|
|
ถิ่นกาขาวชาววิไล
|
พงศภัค อุปถัมภ์ชาติ (21)
|
94
|
0.09
|
|
|
พลังไทยรักชาติ
|
สุกัญญา ตันติธีระศักดิ์ (25)
|
78
|
0.08
|
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
อนุวัฒน์ แก้วศิริ (18)
|
71
|
0.07
|
|
|
ภราดรภาพ
|
สมพงษ์ พรมปั่น (20)
|
71
|
0.07
|
|
|
ไทยรุ่งเรือง
|
ละออ ทำสะอาด (17)
|
61
|
0.06
|
|
|
มหาชน
|
สายวาริน เพิ่มผล (24)
|
34
|
0.03
|
|
|
ประชากรไทย
|
สนธยา สุคทิน (27)
|
33
|
0.03
|
|
|
แผ่นดินธรรม
|
ธนะสุภา แก้วคำ (26)
|
32
|
0.03
|
|
|
ไทยรักษาชาติ
|
ณัฏฐพัชร์ จันทร์แม้น (1)†
|
—
|
—
|
—
|
ผลรวม
|
101,947
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
101,947
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
2,016
|
1.78
|
–
|
บัตรเสีย
|
6,793
|
5.99
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
113,345
|
83.47
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
135,787
|
100
|
—
|
|
พลังประชารัฐ
ได้ที่นั่งจาก ชาติไทยพัฒนา
|
เขต 4
เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบ้านโป่ง[3]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ (3)
|
37,423
|
36.53
|
|
|
พลังประชารัฐ
|
ชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร (11)*
|
32,677
|
31.90
|
|
|
อนาคตใหม่
|
ภัคศุภางค์ เกียงวรางกูร (2)
|
23,520
|
22.96
|
|
|
เสรีรวมไทย
|
ร้อยตรี อ้อย เพชรสน (1)
|
3,008
|
2.94
|
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
พยงค์ ทองปลาด (21)
|
1,265
|
1.23
|
|
|
ภูมิใจไทย
|
สุวัฒน์ อภิกันตสิริ (5)
|
705
|
0.69
|
|
|
เพื่อชาติ
|
วันทนา โอทอง (18)
|
570
|
0.56
|
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
ภูเบศ โสดสงค์ (7)
|
565
|
0.55
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
พรรษวุฒิ ธาดาวิโรจน์ (10)
|
393
|
0.38
|
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
วัฒนา ร่มโพธิ์ (4)
|
368
|
0.36
|
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
พิทยา ไผ่กอ (15)
|
330
|
0.32
|
|
|
พลังชาติไทย
|
บุญชู แก้วกระจ่าง (23)
|
290
|
0.28
|
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
ศุภากร บุญจันทร์ (13)
|
265
|
0.26
|
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
จันทราภรณ์ หาโอกาส (12)
|
186
|
0.18
|
|
|
พลังธรรมใหม่
|
ร้อยตรี พวน อินทร์ชำนาญ (9)
|
142
|
0.14
|
|
|
พลังประชาธิปไตย
|
เสาวณีย์ นิ่มนุช (14)
|
142
|
0.14
|
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
สุบิน ชัยศิลป์ (19)
|
142
|
0.14
|
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
ธนิติ สิริสิงห (17)
|
111
|
0.11
|
|
|
ถิ่นกาขาวชาววิไล
|
อภิชาญ วัชรญาณวิสุทธิ์ (20)
|
69
|
0.07
|
|
|
มหาชน
|
นันทิญา นโมโชค (22)
|
67
|
0.07
|
|
|
ไทรักธรรม
|
ลัดดา ไตรรัตน์รังษี (25)
|
59
|
0.06
|
|
|
พลังสังคม
|
ธนภรณ์ จันทรักรังษี (24)
|
58
|
0.06
|
|
|
ประชานิยม
|
ร้อยตำรวจเอก เสน่ห์ เกตุแก้ว (6)
|
55
|
0.05
|
|
|
ไทยรุ่งเรือง
|
พุทธชาติ มากลัด (16)
|
24
|
0.02
|
|
|
ไทยรักษาชาติ
|
สุรพงษ์ เอี่ยมเอม (8)†
|
—
|
—
|
—
|
ผลรวม
|
102,434
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
102,434
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,819
|
1.66
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,629
|
5.12
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
109,882
|
80.04
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
137,276
|
100
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย
|
เขต 5
เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอดำเนินสะดวก อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)[3]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ภูมิใจไทย
|
บุญลือ ประเสริฐโสภา (2)✔
|
37,425
|
37.90
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ชัยโรจน์ เอกอัครอัญธรณ์ (1)
|
17,897
|
18.13
|
|
|
พลังประชารัฐ
|
อภิญญา สว่างเมฆ (11)
|
16,544
|
16.75
|
|
|
อนาคตใหม่
|
พลกฤต ชื่นจิตร (8)
|
15,763
|
15.96
|
|
|
เสรีรวมไทย
|
สมหมาย แท่นทรัพย์ (9)
|
3,665
|
3.71
|
|
|
เพื่อชาติ
|
ธนาธาร สมบุญศรี (12)
|
1,741
|
1.76
|
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
สมศักดิ์ ศรีเอี่ยมกูล (22)
|
1,592
|
1.61
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
โชคชัย เอี่ยมภูมิ (5)
|
747
|
0.76
|
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
สยาม นิลวัฒน์ (6)
|
530
|
0.54
|
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
ธัญวิทย์ เกลี้ยงเกลา (3)
|
459
|
0.46
|
|
|
ประชานิยม
|
ร้อยตำรวจโท ปรีชา พาด้วง (7)
|
446
|
0.45
|
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
ประชุมพล สืบนุช (10)
|
422
|
0.43
|
|
|
ไทรักธรรม
|
พชรณัฐ์ ฮ่วมแนะ (27)
|
222
|
0.22
|
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
สุดใจ ศรีสมพงษ์ (18)
|
213
|
0.22
|
|
|
ไทยรุ่งเรือง
|
ชูเกียรติ แดงประสิทธิพร (16)
|
168
|
0.17
|
|
|
ถิ่นกาขาวชาววิไล
|
พนม ภุมรินทร์ (21)
|
144
|
0.15
|
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
อัฐชัย เหมมณี (13)
|
135
|
0.14
|
|
|
พลเมืองไทย
|
สุรศักดิ์ จงมโนประเสริฐ (19)
|
110
|
0.11
|
|
|
พลังธรรมใหม่
|
ฉัตรินทร์ มีสอน (15)
|
104
|
0.11
|
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
วิชาติ เสกอ่วม (20)
|
97
|
0.10
|
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
ราตรี เกิดมี (24)
|
84
|
0.09
|
|
|
พลังประชาธิปไตย
|
วันเพ็ญ แก่นยางหวาย (14)
|
78
|
0.08
|
|
|
เพื่อแผ่นดิน
|
ธนิดา โอบอ้อม (17)
|
63
|
0.06
|
|
|
มหาชน
|
จรัส ช้างผึ้ง (23)
|
38
|
0.04
|
|
|
พลังชาติไทย
|
ฑีฆายุ วันลา (25)
|
30
|
0.03
|
|
|
ประชากรไทย
|
สุพรรณ โตจิ๋ว (26)
|
25
|
0.03
|
|
|
ไทยรักษาชาติ
|
ธวัชชัย จตุรนต์รัศมี (4)†
|
—
|
—
|
—
|
ผลรวม
|
98,742
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
98,742
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
2,267
|
2.12
|
–
|
บัตรเสีย
|
6,168
|
5.75
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
107,185
|
80.39
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
133,336
|
100
|
—
|
|
ภูมิใจไทย
รักษาที่นั่ง
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|