Share to:

 

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

กฎหมายทั่วโลกเกี่ยวกับความสัมพันธ์และเสรีภาพในการแสดงออกร่วมเพศ
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีโทษ:
  ประหารชีวิต แต่ไม่บังคับใช้
  จำคุก
  จำคุก แต่ไม่บังคับใช้1
  ถูกทหารอาสาสมัครฆ่า
  ถูกกักขังแต่ไม่ดำเนินคดี
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับการอยู่กินด้วยกัน:
  สมรสนอกดินแดน3
  เฉพาะคนต่างด้าว
  คำรับรองเป็นลายลักษณ์อักษรที่เลือกได้
  ไม่ยอมรับ
  ยังมีข้อจำกัดในการแสดงออก
วงแหวนระบุพื้นที่ซึ่งผู้พิพากษาท้องถิ่นอนุญาตหรือปฏิเสธการสมรสหรือกำหนดโทษประหารชีวิตในเขตอำนาจศาลซึ่งไม่ใช่กฎหมายหรือพื้นที่ซึ่งใช้แบบกรณี ๆ ไป
1ไม่มีการจับกุมในสามปีหลังสุด หรือมีการผ่อนเวลากฎหมาย
2กฎหมายอาจยังไม่มีผลบังคับในบางเขตอำนาจ
3ไม่มีการสมรสในท้องถิ่น บางเขตอำนาจอาจจัดการครองคู่ (partnership) แบบอื่น
สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสหประชาชาติ
  
สนับสนุน ประเทศซึ่งลงนามปฏิญญาสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหรือสนับสนุนข้อมติสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเมื่อปี 2554 ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน (เดิมสมาชิก 96 ประเทศ, ปัจจุบัน 99 ประเทศ)
  
คัดค้าน ประเทศซึ่งลงนามแถลงการณ์คัดค้านสิทธิกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศปี 2551 (เดิมสมาชิก 57 ประเทศ, ปัจจุบัน 51 ประเทศ)
  
ไม่สนับสนุนหรือคัดค้าน ประเทศเกี่ยวข้องกับสหประชาชาติซึ่งทั้งไม่สนับสนุนและคัดค้านสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (44 ประเทศ)
  
ไม่เป็นสมาชิกสหประชาชาติ ประเทศซึ่งไม่เป็นสมาชิกสหประชาชาติ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือดินแดน ตั้งแต่การรับรองการสมรสเพศเดียวกันตามกฎหมายหรือคู่ชีวิตในรูปแบบอื่น จนถึงโทษประหารชีวิตสำหรับกิจกรรมทางเพศหรือการแสดงออกของบุคคลเพศเดียวกัน

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกจัดว่าเป็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ซึ่งประกอบไปด้วย แต่ไม่จำกัดเพียง:

  • การอนุญาตให้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) บริจาคเลือด
  • การรับรองความสัมพันธ์ของบุคคลเพศเดียวกันโดยรัฐบาล (เช่น การสมรสเพศเดียวกันหรือคู่ชีวิตเพศเดียวกัน)
  • การอนุญาตให้กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรับบุตรบุญธรรม
  • การรับรองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในการเป็นผู้ปกครอง
  • กฎหมายคุ้มครองการถูกรังแกและการคุ้มครองการเลือกปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน หรือนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • กฎหมายเกี่ยวกับคนเข้าเมืองอย่างเท่าเทียมกัน
  • กฎหมายป้องกันการเลือกปฏิบัติทางการจ้างและการอยู่อาศัย
  • กฎหมายป้องกันอาชญากรรมที่มาจากความเกลียดชัง โดยมีการเสริมโทษทางอาญาสำหรับความรุนแรงสืบเนื่องมาจากอคติต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • กฎหมายเกี่ยวกับอายุที่รับรู้ยินยอมที่เท่ากัน
  • การเข้าถึงเทคโนโลยีช่วยเหลือการปฏิสนธิอย่างเท่าเทียมกัน
  • การเข้าถึงการผ่าตัดแปลงเพศและการรักษาเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนทางการแพทย์
  • การรับรองการแปลงเพศทางกฎหมาย
  • และกฎหมายเกี่ยวกับเพศวิถีและการรับราชการทางทหาร

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ประเทศกว่า 21 ประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศอยู่ในทวีปอเมริกาและยุโรปตะวันตก ได้รับรองการสมรสเพศเดียวกันและให้สิทธิต่าง ๆ ที่กล่าวไว้เบื้องต้นแก่กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

ความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

แผนที่สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

กฎหมายเกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
กฎหมายทั่วโลกเกี่ยวกับความสัมพันธ์และเสรีภาพในการแสดงออกร่วมเพศ
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีโทษ:
  ประหารชีวิต แต่ไม่บังคับใช้
  จำคุก
  จำคุก แต่ไม่บังคับใช้1
  ถูกทหารอาสาสมัครฆ่า
  ถูกกักขังแต่ไม่ดำเนินคดี
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับการอยู่กินด้วยกัน:
  สมรสนอกดินแดน3
  เฉพาะคนต่างด้าว
  คำรับรองเป็นลายลักษณ์อักษรที่เลือกได้
  ไม่ยอมรับ
  ยังมีข้อจำกัดในการแสดงออก
วงแหวนระบุพื้นที่ซึ่งผู้พิพากษาท้องถิ่นอนุญาตหรือปฏิเสธการสมรสหรือกำหนดโทษประหารชีวิตในเขตอำนาจศาลซึ่งไม่ใช่กฎหมายหรือพื้นที่ซึ่งใช้แบบกรณี ๆ ไป
1ไม่มีการจับกุมในสามปีหลังสุด หรือมีการผ่อนเวลากฎหมาย
2กฎหมายอาจยังไม่มีผลบังคับในบางเขตอำนาจ
3ไม่มีการสมรสในท้องถิ่น บางเขตอำนาจอาจจัดการครองคู่ (partnership) แบบอื่น
สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสหประชาชาติ
  สนับสนุน
ประเทศซึ่งลงนามปฏิญญาสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหรือสนับสนุนข้อมติสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเมื่อปี 2554 ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (96 ประเทศ/ดินแดน)
  คัดค้าน
ประเทศซึ่งลงนามแถลงการณ์คัดค้านสิทธิกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศปี 2551 (เดิม 57 ประเทศ/ดินแดน, ปัจจุบัน 54 ประเทศ/ดินแดน หลังจากประเทศฟีจี ประเทศรวันดา และเซียร์ราลีโอนถอนตัว)
  งดออกเสียง
ประเทศเกี่ยวข้องกับสหประชาชาติซึ่งทั้งไม่สนับสนุนและคัดค้านสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (44 ประเทศ/ดินแดน)
กฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
กฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  ประเทศหรือดินแดนที่ไม่มีกฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกัน
  โทษปรับ[1]
  ไม่ทราบบทลงโทษ
  จำคุก
การเลิกลักษณะอาชญากรรมในการร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  1790–1799
  1800–1819
  1820–1829
  1830–1839
  1840–1859
  1860–1869
  1870–1879
  1880–1889
  1890–1909
  1910–1919
  1920–1929
  1930–1939
  1940–1949
  1950–1959
  1960–1969
  1970–1979
  1980–1989
  1990–1999
  2000–2009
  2010–ปัจจุบัน
  ไม่ทราบวันที่ที่การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันถูกต้องตามกฎหมาย
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมายมาโดยตลอด
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมาย
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การปรับกฎหมายเกี่ยวกับอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้สำหรับคู่รักเพศเดียวกันให้เท่าเทียมตามประเทศหรือดินแดน
  1790–1829
  1830–1839
  1840–1859
  1860–1869
  1870–1879
  1880–1889
  1890–1929
  1930–1939
  1940–19491
  1950–1959
  1960–1969
  1970–1979
  1980–1989
  1990–1999
  2000–2009
  2010–ปัจจุบัน
  ไม่ทราบวันที่ที่มีการปรับอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของคู่รักเพศเดียวกันให้เท่ากับคู่รักต่างเพศ
  ไม่มีอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้หรืออายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้นั้นเท่ากันระหว่างคู่รักเพศเดียวกันให้เท่ากับคู่รักต่างเพศมาโดยเสมอ
  อายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้สำหรับคู่รักเพศเดียวกันนั้นแตกต่างออกไป
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันไม่ชอบด้วยกฎหมาย
1ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้ผนวกดินแดนหรือจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทขึ้น ซึ่งเป็นการขยายกฎหมายต่อต้านการร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันของเยอรมนีออกไปยังดินแดนต่าง ๆ และไรชส์ค็อมมิสซารีอาทด้วย ก่อนหน้านั้นอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของบุคคลรักเพศเดียวกันมีความเท่าเทียมอยู่แล้วในประเทศหรือดินแดนต่าง ๆ ก่อนหน้าการผนวกดินแดนหรือการจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทของเยอรมนี ดังนี้ เบลลูโน (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) แคว้นฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) โปแลนด์ (ชอบด้วยกฎหมายมาโดยตลอด ยืนยันในปี 1932) และแคว้นเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) ทุกประเทศและดินแดนดังกล่าวที่ถูกผนวกหรือจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทโดยนาซีเยอรมนีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อได้รับเอกราชหรือเข้าร่วมกับประเทศดั้งเดิมของตนก่อนหน้าในระหว่างก่อนและหลังสงครามแล้ว จึงได้มีการทำให้อายุอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของบุคคลรักเพศเดียวกันเท่ากันกับคู่รักต่างเพศอีกครั้ง
สถานะชอบด้วยกฎหมายของการสมรสเพศเดียวกัน
  เปิดให้มีการจดทะเบียนสมรสกับคู่รักเพศเดียวกัน (วงแหวน: รายกรณี)
  เขตอำนาจศาลแบบผสม: การจดทะเบียนสมรสได้รับการรับรองโดยรัฐ แต่ไม่ได้รับการรับรองโดยรัฐบาลชนเผ่าสำหรับพลเมืองซึ่งเป็นสมาชิกของเผ่า
  กฎหมายหรือคำตัดสินของศาลในประเทศตัดสินให้มีการจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกัน แต่ยังมิได้จัดให้มีการจดทะเบียนสมรสนั้นมาก่อน
  การจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันได้รับการรับรองอย่างเต็มสิทธิ เมื่อมีการดำเนินการในเขตอำนาจศาลอื่น
  ใช้คำสั่งศาลเพื่อให้มีการรับรองซึ่งยังมิได้ทดสอบ (ประเทศอาร์มีเนีย)
  ทะเบียนคู่ชีวิตหรือการอยู่กินด้วยกัน
  รับรองตามกฎหมายอย่างจำกัด (ทะเบียนคู่ชีวิต)
  ในรับรองส่วนท้องถิ่นซึ่งไม่มีผลทางกฎหมาย
  การรับรองการจดทะเบียนสมรสที่กระทำในเขตอำนาจศาลอื่นอย่างจำกัด (สิทธิในการอยู่อาศัยสำหรับคู่สมรส)
  ประเทศที่อยู่ภายใต้คำตัดสินของศาลระหว่างประเทศให้รับรองการจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกัน
  ประเทศอื่น ๆ ซึ่งไม่รับรองการจดทะเบียนของบุคคลรักเพศเดียวกัน
สถานะชอบด้วยกฎหมายของคู่รักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  อนุญาตให้รับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้
  อนุญาตให้รับบุตรบุญธรรมโดยคู่สมรสคนใดคนหนึ่งได้
  ไม่มีกฎหมายที่อนุญาตให้มีการรับบุตรบุญธรรมของคู่รักเพศเดียวกัน
การรับราชการทหารของชาติของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน[ต้องการอ้างอิง]
  กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศทุกคนสามารถรับราชการทหารได้
  เพศชายที่เป็นเกย์ ไบ หรือคนข้ามเพศสามารถรับราชการทหารได้
  เลสเบียน เกย์ และไบสามารถรับราชการทหารได้
  เพศชายที่เป็นเกย์และไบสามารถรับราชการทหารได้
  กำกวม/ไม่ทราบนโยบาย
  กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกห้ามมิให้รับราชการทหาร
  ไม่มีทหาร
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานเนื่องจากรสนิยมทางเพศหรือเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานทั้งหมด
  รสนิยมทางเพศมีกฎหมายว่าด้วยการต่อต้านการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน และเพศเอกลักษณ์ในการจ้างงานของรัฐเท่านั้น
  รสนิยมทางเพศ: การจ้างงานทั้งหมด
  เพศเอกลักษณ์: การจ้างงานทั้งหมด
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานของรัฐบาลกลาง
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานของรัฐ
  รสนิยมทางเพศ: การจ้างงานของรัฐ
  ไม่มีกฎหมายการจ้างงานระดับประเทศที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศหรือเพศเอกลักษณ์
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ในสินค้าและบริการตามประเทศหรือดินแดน
ประเทศหรือดินแดนที่มีกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสินค้าและบริการ
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศ
  ครอบคลุมเพศเอกลักษณ์
  ไม่มีกฎหมายระดับประเทศหรือท้องถิ่นเกี่ยวกับการต่อต้านการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ในสินค้าและบริการ
กฎหมายรัฐธรรมนูญต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศ
  ครอบคลุมเพศเอกลักษณ์
  ไม่มีกฎหมายรัฐธรรมนูญระดัยชาติหรือท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการต่อต้านการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังเกี่ยวกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน
  มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังในรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังในรสนิยมทางเพศ
  ไม่มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศ
  ไม่มีการห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีสำหรับผู้เยาว์เนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีโดยพฤตินัย
  ห้ามเป็นรายกรณี
  มีการเสนอให้ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถี
  ไม่มีการห้ามการบำบัดแก้เพศวิถี
การเข้าเมืองเท่าเทียมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน[ต้องการอ้างอิง]
  รับรองคู่รักเพศเดียวกันในกฎหมายการเข้าเมืองระดับประเทศ
  ไม่ทราบ/กำกวม
การห้ามการอยู่กินด้วยกันของบุคคลเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  ไม่มีข้อห้ามเฉพาะของการอยู่กินด้วยกันหรือการสมรสเพศเดียวกัน
  รัฐธรรมนูญห้ามการสมรสเพศเดียวกัน
  รัฐธรรมนูญบัญญัติตามกฎหมายอิสลามหรือห้ามการละเมิด "ศีลธรรมของอิสลาม"
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชายตามประเทศหรือดินแดน
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย
  รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; ไม่มีการจำกัดสิทธิ์
  รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ชั่วคราว
  ไม่รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ถาวร
  ไม่มีข้อมูล
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชายตามประเทศหรือดินแดน
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย
  รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; ไม่มีการจำกัดสิทธิ์
  รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ชั่วคราว
  ไม่รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ถาวร
  ไม่มีข้อมูล
กฎหมายเกี่ยวกับการแสดงเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ชอบด้วยกฎหมาย ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ชอบด้วยกฎหมาย จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
  ไม่ทราบ/กำกวม
การรับรองตามกฎหมายของเพศนอนไบนารีและเพศที่สาม
  มีตัวเลือกสำหรับนอนไบนารี/เพศที่สาม
  มีตัวเลือกให้เฉพาะสำหรับกะเทยเท่านั้น
  มีมาตรฐานสำหรับเพศที่สาม
  มีมาตรฐานสำหรับกะเทย
  นอนไบนารี/เพศที่สามไม่ถูกรับรองตามกฎหมาย / ไม่มีข้อมูล

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

ทวีปแอฟริกา

รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปแอฟริกา

แอฟริกาเหนือ

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แอลจีเรีย แอลจีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
การลงโทษ: ปรับและจำคุกสูงสุด 2 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
แม่แบบ:Country data แคว้นกานาเรียส กานาเรียส
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2546[4] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[5] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[6]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[7]
ใช่ สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
เซวตา เซวตา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินชอบโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2541[10] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[12] ใช่ สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
อียิปต์ อียิปต์ ใช่/ไม่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายโดยนิตินัย แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัย ตั้งแต่ 2549
การลงโทษ: จำคุกสูงสุดถึง 17 ปีและ/หรือการใช้แรงงานอย่างหนักและ/หรือปรับตามกฎหมายว่าด้วยศีลธรรมอันดีงามที่ถูกตราขึ้น
ไม่ชัดเจนในเพศหญิง[2][14]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ลิเบีย ลิเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2496[15] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาเดรา มาเดรา
(แคว้นปกครองตนเองของโปรตุเกส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2544[16][17] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[18] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 (+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[19][20][21] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2554 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[22]
เมลียา เมลียา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2551[23] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[12] ใช่ สเปนรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
โมร็อกโก โมร็อกโก
(รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][24]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี
(ไม่รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2487 (ในขณะเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโพ้นทะเลสเปนซาฮารา)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][25][26]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซูดานใต้ เซาท์ซูดาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 10 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ปี 2554 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซูดาน ซูดาน ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: ประหารชีวิตในผู้ชายที่ทำผิดเป็นครั้งที่สามและในผู้หญิงที่ทำผิดเป็นครั้งที่สี่[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ตูนิเซีย ตูนิเซีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2456 (ในขณะเป็นตูนิเซียในคุ้มกันของฝรั่งเศส)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][27]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกาตะวันตก

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบนิน เบนิน ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);[2][28]
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
บูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามไว้ตั้งแต่ 2534 ไม่ ไม่
กาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2547
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]
ประเทศแกมเบีย แกมเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2431 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในอารักขาและอาณานิคมแกมเบีย)
โทษ: จำคุกถึงตลอดชีวิต[2][29][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กานา กานา ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2403 (เป็นส่วนหนึ่งของโกลด์โคสต์)
โทษ: จำคุก 10 ปี หรือมากกว่า
ใช่ Female always Legal[2][30][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กินี กินี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2531
โทษ: จำคุก 6 เดือนถึง 3 ปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กินี-บิสเซา กินี-บิสเซา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไลบีเรีย ไลบีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2519
โทษ: จำคุก 1 ปี[2][31]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาลี มาลี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มอริเตเนีย มอริเตเนีย ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
โทษ: ประหารชีวิตโดยการขว้างหิน[2][32]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไนเจอร์ ไนเจอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไนจีเรีย ไนจีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายสหพันธรัฐตั้งแต่ 2444 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขานอร์ทเทิร์นไนจีเรีย และ ดินแดนอารักขาเซาท์เทิร์นไนจีเรีย)
โทษ: จำคุกสูงสุดถึง 14 ปี ไม่ มีโทษประหารในรัฐบาอูชี, เบอร์โน, กอมเบ, จิกาวา, กาดูนา, กาโน, กัตซินา, เกบบี, ไนเจอร์, โซโกโต, โยเบ, และซัมฟารา[2][33][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซเนกัล เซเนกัล ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
โทษ: จำคุก 1 ถึง 5 ปี[2][34]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2404 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาและอาณานิคมเซียร์ราลีโอน)
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โตโก โตโก ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2427 (เมื่อครั้งเป็นดินแดนอารักขาโตโกแลนด์)
โทษ: ปรับ และจำคุก 3 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกากลาง

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แคเมอรูน แคเมอรูน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2515
โทษ: ปรับ และจำคุกสูงสุด 5 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2559[35] ไม่ ไม่
ชาด ชาด ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่
อิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กาบอง กาบอง ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐคองโก สาธารณรัฐคองโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซนต์เฮเลนา เซนต์เฮเลนา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[36][37] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
เซาตูแมอีปริงซีป เซาตูเมและปรินซีปี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บุรุนดี บุรุนดี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี[2][38]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่ ไม่
เคนยา เคนยา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2440 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาแอฟริกาตะวันออก)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[39] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
รวันดา รวันดา ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2546 ไม่ ไม่
แทนซาเนีย แทนซาเนีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2407 (เฉพาะแซนซิบาร์)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ยูกันดา ยูกันดา ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2437
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[40][40]
ในเพศหญิงยังคลุมเคลือ
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

จะงอยแอฟริกา

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
จิบูตี จิบูตี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เอริเทรีย เอริเทรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2500 (ในขณะที่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเอธิโอเปียและเอริเทรีย)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][41]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เอธิโอเปีย เอธิโอเปีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: จำคุก 10 ปีหรือนานกว่านั้น[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โซมาเลีย โซมาเลีย ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[42]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โซมาลีแลนด์ โซมาลีแลนด์ ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[42]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

รัฐในมหาสมุทรอินเดีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
คอโมโรส คอโมโรส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2525
โทษ: จำคุก 5 ปี และปรับ[2][43]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์ เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
มาดากัสการ์ มาดากัสการ์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มอริเชียส มอริเชียส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2381 (เป็นส่วนหนึ่งของบริติชมอริเชียส)
โทษ: จำคุกสูงสุด 5 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[44]
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][45]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[46][47]
มายอต มายอต
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เรอูว์นียง เรอูนียง
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1791[2] ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เซเชลส์ เซเชลส์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[48]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]

แอฟริกาใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองโกลา แองโกลา ไม่ โดยพฤตินัย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2429 (เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดแองโกลา)
โทษ: ปรับ กักกัน หรือ ลงอาญาด้วยการใช้แรงงาน (ไม่บังคับใช้)[2][49]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[50][51]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[52] อาจมีการเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม Código do Registro Civil 2015[53]
บอตสวานา บอตสวานา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2428 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาเบชัวนาแลนด์)
โทษ: ปรับ หรือ จำคุกสูงสุด 7 ปี (ไม่บังคับใช้)[2][3]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[54]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ รัฐธรรมนูญรับรองการเปลี่ยนแปลงเพศโดยชอบตั้งแต่ 2560[55]
เอสวาตินี สวาซิแลนด์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ช่วงปี 2423
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เลโซโท เลโซโท ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2555
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ อาจเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม มาตรา 9 แห่งรัฐบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน ค.ศ. 2011[56]
มาลาวี มาลาวี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาไชร์ไฮแลนด์และเขตอารักขาเนียซาแลนด์)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปีและเฆี่ยน (กฎหมายดังกล่าวถูกระงับการใช้งานตั้งแต่ 2555)[2][57][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โมซัมบิก โมซัมบิก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[58][59] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2][46]
นามิเบีย นามิเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2463 (เป็นส่วนหนึ่งของแอฟริกาตะวันตก-ใต้)[3]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[2][60][61]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ตาม มาตรา 81 แห่งรัฐบัญญัติการจดทะเบียนเกิด สมรส และตาย ค.ศ. 1963[62]
แอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2541
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การรับรู้การเป็นหุ้นส่วนชีวิตโดยจำกัดแบบไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2541; การสมรสเพศเดียวกันตั้งแต่ 2549 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2549 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2545 ใช่ ตั้งแต่ 2541 ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติตีความรวมถึงอัตลักษณ์ทางเพศด้วย; การเปลี่ยนเพศโดยชอบอาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่าตัดหรือกระบวนการทางการแพทย์
แซมเบีย แซมเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2454 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
โทษ: จำคุกถึง 14 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซิมบับเว ซิมบับเว ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2556 ไม่ ไม่ ไม่

ทวีปอเมริกา

รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปอเมริกา

อเมริกาเหนือ

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537 (อายุที่ยินยอม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[63] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[64] ใช่ สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[65] ไม่
แคนาดา แคนาดา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2512 (อายุที่ยินยอมและห้ามมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักในบางกรณี)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][66]
ใช่ หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐโนวาสโกเชีย (2544)[67];
ทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐควิเบก (2545)[68];
ความสัมพันธ์ซึ่งพึ่งพาอาศัยกันในผู้ใหญ่ในรัฐแอลเบอร์ตา (2546)[69];
ความสัมพันธ์ทางกฎหมายจารีตประเพณีในรัฐแมนิโทบา (2547)[70]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2546
ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2548
[71]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2539 ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2550[72] ใช่ ตั้งแต่ 2535[73] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติและการประทุษวาจา การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในรัฐแมนิโทบาและรัฐออนแทรีโอตั้งแต่ 2558 (เสนอแล้วในเขตอำนาจศาลอื่น) ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศของตนและชื่อได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดแปลงเพศ และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนรวมถึงการคุ้มครองอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศตั้งแต่ 2560[74][75][76][77]
กรีนแลนด์ กรีนแลนด์
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเดนมาร์ก)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2539[78] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 ใช่ การรับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2552[79] Joint adoption since 2016.[80] ใช่ ตั้งแต่ 2521 (ความรับผิดชอบของเดนมาร์ก) ใช่/ไม่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
เม็กซิโก เม็กซิโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2414
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่/ไม่ การจดทะเบียนคู่ชีวิตในเม็กซิโกซิตี (2550), รัฐโกอาวีลา (2550),[81] รัฐโกลีมา (2556),[82] รัฐกัมเปเช (2556),[83] รัฐฮาลิสโก (2557)[84] ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตี (2553),[85] รัฐกินตานาโร (2555),[86] รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐชีวาวา (2558), รัฐเกร์เรโร (2558), รัฐนายาริต (2558), รัฐฮาลิสโก (2016), รัฐกัมเปเช (2016), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559), รัฐโมเรโลส (2559)
รัฐทั้งหมดต้องให้เกียรติการสมรสเพศเดียวกันในรัฐที่ชอบด้วยกฎหมาย[85]
(เสนอทั่วประเทศแล้ว)[87][88]

ศาลสูงสุดประกาศว่าการปฏิเสธทะเบียนสมรสของคู่รักเพศเดียวกันในทุกรัฐถือว่าเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ[89] แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญของรัฐนั้นเป็นโมฆะคำสั่งแต่ละกรณีจะต้องมาจากศาล[90][91]

ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายอย่างชัดเจนในเม็กซิโกซิตี (2553)[92], รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559) [93]
ทั่วประเทศ คู่รักเพศเดียวกันที่สมรสแล้วอาจรับบุตรบุญธรรมได้[94]
ใช่ ใช่ รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[95] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศของตนและชื่อได้อย่างชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ 2551[96] เม็กซิโกได้ลงมติยอมรับพิธีสารชอบด้วยกฎหมายสำหรับอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศในปี 2557 ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อปกป้องสิทธิและความเท่าเทียมกันของพลเมืองทุกคน[97]
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[100] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ 2560 การทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศได้ถูกยกเลิกไปแล้ว[101]
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2505 ทั้งประเทศตั้งแต่ 2546
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐแคลิฟอร์เนีย (2542),[102] วอชิงตัน ดี.ซี. (2545),[103] รัฐเมน (2547),[104] รัฐออริกอน (2551),[105] รัฐแมริแลนด์ (2551),[106] รัฐวิสคอนซิน (2552)[107] and รัฐเนวาดา (2552)[108];
การจดทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐนิวเจอร์ซีย์ (2550),[109] รัฐอิลลินอยส์ (2554),[110] รัฐฮาวาย (2555),[111] และรัฐโคโลราโด (2556)[112]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2555
ยกเว้นอเมริกันซามัวและบางอำนาจศาลชนเผ่า[113][114]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2536
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2558 ยกเว้นอเมริกันซามัว[114]
ใช่/ไม่ ตั้งแต่ 2554[115][116] ใช่/ไม่ คำสั่งของรัฐบาลกลางห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศของพนักงานในพนักงานพลเรือนของรัฐบาล พร้อมกับการจ้างงานของวอชิงตัน ดี.ซี. และบริการไปรษณีย์สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ 2541 (ดูที่ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 12968 และ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13087) การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐ (มีการห้ามในรัฐแคลิฟอร์เนีย รัฐคอนเนตทิคัต รัฐอิลลินอยส์ รัฐนิวเม็กซิโก รัฐเวอร์มอนต์ รัฐนิวยอร์ก รัฐเนวาดา รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐออริกอน รัฐโรดไอแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และในบางเมืองเช่น ไมอามีบลีช ซินซินแนติ พิตต์สเบิร์ก และ ซีแอตเทิล) รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)
ใช่/ไม่ การเลือกปฏิบัติต่ออัตลักษณ์ทางเพศในการจ้างงานและการประกันสุขภาพถูกห้ามตั้งแต่ปี 2555[117][118] รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552 การเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศในการจ้างงานถูกห้ามตั้งแต่ปี 2558[119]
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)

อเมริกากลาง

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบลีซ เบลีซ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[120] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มาตรา 16(3) แห่งรัฐธรรมนูญตราไว้ว่าให้ต่อต้านอาชญากรรมซึ่งมีรากฐานจากเพศ เชื้อชาติ สถานที่เกิด ความคิดเห็นทางการเมือง ลักษณะภายนอกหรือหลักความเชื่อ[121] The ruling overturning Section 53 of the criminal code specifically stated "sex" as mentioned in Section 16(3) of the constitution, includes sexual orientation.[122][123] ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรม

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[124]

คอสตาริกา คอสตาริกา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่รวมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2557;
(เตรียมการจดการอยู่กินโดยฑฤตินัย)[125][126]
ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่(รอคำพิพากษาของศาล) แอลจีบีทีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[127] ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรมหรือผ่านการอนุญาตโดยกฎหมายตั้งแต่ 2561[128]

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

เอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2343
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ (กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [129] ไม่ (กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [129] ใช่[130] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[130] ใช่ ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[131][132]

ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[133]

ประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1800s
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มีข้อยกเว้นแค่ Código de la Niñez y la Juventud (รหัสเรียกเด็กและเยาวชน), ได้รับการอนุมัติใน 2540, ซึ่งเพื่อช่วยปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัญหาการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งรสนิยมทางเพศทั้งของตนเองและบุพการี ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย[134]

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

ฮอนดูรัส ฮอนดูรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[135][136] ไม่ บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[135][136] ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ รวมถึงการประทุษวาจาด้วย[137] ใช่ ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[2]

ไม่ทราบว่าการเปลี่ยนแปลงเพศชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

นิการากัว นิการากัว ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
ปานามา ปานามา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่ ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[138]

(Anti-discrimination law proposed).[139]

ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมายหลังจากการผ่าตัดแปลงเพศเสร็จสิ้นแล้ว ตั้งแต่ 2549[140] Legal name change, without surgeries, is allowed since 2016.[141]

แคริบเบียน

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองกวิลลา แองกวิลลา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
แอนทีกาและบาร์บิวดา แอนติกาและบาร์บูดา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 15 ปี (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อารูบา อารูบา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2559[142] ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ประเทศบาฮามาส บาฮามาส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[2] ไม่ ไม่
บาร์เบโดส บาร์เบโดส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[2] กำลังดำเนินการให้ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[144] ไม่
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์แคริบเบียน
(โบแนเรอ, ซาบา และ ซินต์เอิสตาซียึส เป็นเทศบาลพิเศษของเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในเทศบาลเหล่านี้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่[145] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555[146] ใช่[147] ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[148] ใช่[149]
หมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544; มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่/ใช่ คู่รักเพศเดียวกันได้รับการยอมรับเพื่อจุดประสงค์ในการเข้าเมืองตั้งแต่ 2559 ไม่ กำลังเตรียมคำพิพากษาของศาล[150] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
คิวบา คิวบา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2519; กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ ใช่[2] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[151][152] ใช่ บุคคลข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเพศได้ภายหลังจากการดำเนินการทางเพศ[153]
กูราเซา กือราเซา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ กำลังดำเนินการ ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ดอมินีกา ดอมินีกา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี หรือกักขังในสถาบันจิตวิทยา (ไม่บังคับใช้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2365
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[154] ไม่ ไม่[155] ไม่ ไม่
กรีเนดา เกรเนดา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
กัวเดอลุป กัวเดอลุป
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เฮติ ไฮติ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334 (ในฐานะเป็นแซ็ง-ดูมังเก)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
จาเมกา จาเมกา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ใช้แรงงานอย่างหนัก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2505 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาร์ตีนิก มาร์ตีนิก
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
มอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[156] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[157] ไม่
ปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
(คอมมอนเวลท์ของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546 ใช่ ตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[158] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ใช่ สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[115][159] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561; ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
แซ็ง-บาร์เตเลมี
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์คิตส์และเนวิส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซนต์ลูเชีย เซนต์ลูเชีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
เซนต์มาร์ติน
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
ซินต์มาร์เติน ซินต์มาร์เติน
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561[160] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2554[161] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
(ดินแดนของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2528 ใช่ ตั้งแต่ 2558[114] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[114] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[114] ใช่ สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[115][159] ไม่ ไม่

อเมริกาใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2396
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินด้วยกันในบัวโนสไอเรส (2546),[162] รัฐริโอเนโกร (2546),[163] วิลลากาโลสปาซ (2550) และ รีโอกวาร์โต (2552)
การอยู่กินด้วยกันทั่วประเทศตั้งแต่ 2015[164]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[165] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553 ใช่ ตั้งแต่ 2552[166] ใช่/ไม่ กฎหมายปกป้องในบางเมือง;[167]
กำลังดำเนินการทั้งประเทศ
การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553
ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2555[168]
โบลิเวีย โบลิเวีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2375
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามใน การอยู่กินเสรี ตั้งแต่ 2552;[169]
Family life agreement pending[170]
ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552[171] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นฝ่ายรับบุตรบุญธรรม แต่ไม่ใช่ในฐานะคู่[172] ใช่ ตั้งแต่ 2558[173][174][175] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2559[176][177][178][179]
บราซิล บราซิล ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2374
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ "การอยู่กินอย่างคงตัว" ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547; รับรองในฐานะครอบครัวทั่วประเทศตั้งแต่ 2554[180][181] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2555, ทั่วประเทศตั้งแต่ 2556[182][183] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[184] ใช่[185] ใช่/ไม่ ต่อต้านในทุกรัฐของบราซิล (ยกเว้นรัฐโตกันชีนส์), รวมถึงเขตสหพันธรัฐ; กำลังดำเนินการขยายกฎหมายต่อต้านการการเลือกปฏิบัติทั่วประเทศ[186] การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542[187][188] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือคำสั่งทางกฎหมายตั้งแต่ 2561[189][190][191]
ชิลี ชิลี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2558[192] ไม่ กำลังเสนอ[193] ไม่ กำลังเสนอ[194] ใช่ ตั้งแต่ 2555[195] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[196] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้ภายหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยสมบูรณ์และได้รับอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2550[197] ปัจจุบัน ด้วยกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศที่กว้างขึ้น (กำเปลี่ยนเพศโดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมาย) เริ่มมีการพูดคุยกันในรัฐสภาแล้ว[198]
โคลอมเบีย โคลอมเบีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2524
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ภาวะสมรสโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2550[199] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[200] ใช่ รับบุตรบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2557;[201] รับร่วมกันได้ตั้งแต่ 2558[202] ใช่ ตั้งแต่ 1999[2] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[203] ใช่ ตั้งแต่ 2558, คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศและชื่อแสดงตนของตนได้เป็นพิธีก่อนที่จะมีการรับรอง ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดหรือมีคำสั่งทางกฎหมาย[204]
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2552[205][206] ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552; กำลังดำเนินการพิพากษาของศาล[207] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจรับบุตรบุญธรรม แต่รับร่วมกันไม่ได้[208] [209] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[210]
การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557
ใช่ ตั้งแต่ 2559, คนข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อกำเนิดและอัตลักษณ์ทางเพศได้ (แทนเพศที่ถูกกำหนดมาเมื่อเกิด) บนเอกสารราชการได้ ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัดหรือคำสั่งทางกฎหมาย[211][212][213]
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2532
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2560[214] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[214] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[215] ไม่
เฟรนช์เกียนา เฟรนช์เกียนา
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่ง ตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
กายอานา กายอานา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุดตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ [216] ใช่[217] ไม่ ไม่
ปารากวัย ปารากวัย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2423; มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2535[218] ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 1992; court decision pending[219] ไม่ ใช่ ไม่ ดำเนินการแล้ว[220] ไม่
เปรู เปรู ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2467
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ กำลังดำเนินการ[221] ไม่ กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล ไม่ ใช่ ตั้งแต่ 2552[222] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[223][224][225][226][227] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนชื่อและเพศของตนได้โดยชอบ โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยสมบูรณ์และการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2559[228][229]
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร) ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[230] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[230] ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่
ซูรินาม ซูรินาม ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2412 (ในฐานะดัชต์เกียนา);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[231] ไม่ กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล[232][233]
อุรุกวัย อุรุกวัย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2477
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรสตั้งแต่ 2551[234] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[235] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[236] ใช่ ตั้งแต่ 2009[237] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[238] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อได้โดยชอบตั้งแต่ 2552[239]
เวเนซุเอลา เวเนซุเอลา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ดำเนินการแล้ว ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2540;
กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล[240]
ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่

ทวีปเอเชีย

รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปเอเชีย

เอเชียกลาง

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
คาซัคสถาน คาซัคสถาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่[241] ไม่ ใช่[242]
คีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[2] ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2559[243] ไม่ ไม่ ใช่[242]
ทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[242]
เติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 2 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

ยูเรเซีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อับฮาเซีย อับคาเซีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
แอโครเทียรีและดิเคเลีย แอโครเทียรีและดิเคเลีย
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2548 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 ใช่ บริติชรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[244]
อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2558[245][246] ไม่ ไม่/ใช่ ไม่มีการห้ามอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม บุคคลเพศทางเลือกจะถูกขับออกโดยรายงานด้วยเหตุผลด้านรสนิยมทางเพศ[247] ไม่ ไม่
อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
ไซปรัส ไซปรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2558 ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[249] ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติที่ขึ้นกับอัตล๊กษณ์ทางเพศ
ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ (เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ) ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[250] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
นอร์เทิร์นไซปรัส นอร์เทิร์นไซปรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[251][252][2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[251][252] ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติโดยใช้ถ้อยคำที่แสดงความเกลียดชังตั้งแต่ 2557[251][252]

ไม่ทราบถึงกฎหมายการเปลี่ยนเพศ

รัสเซีย รัสเซีย ใช่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายตลอด[253][2]
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในสาธารณรัฐเชเชน
ไม่ ไม่ (เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ) ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม ใช่ นโยบายห้ามถาม ห้ามบอกอย่างไม่เป็นทางการ ไม่ ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
เซาท์ออสซีเชีย เซาท์ออสซีเชีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ตุรกี ตุรกี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2401[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ (เสนอ)[254] ไม่ (เสนอ)[254] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)

เอเชียตะวันตก

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บาห์เรน บาห์เรน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2519 (อายุที่ยินยอม)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อิหร่าน อิหร่าน ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: สำหรับผู้ชายเฆี่ยน 74 ทีสำหรับผู้ชายที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและประหารชีวิตสำหรับผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะซึ่งสุขภาพจิตสมบูรณ์และถ้ายินยอม สำหรับผู้หญิงเฆี่ยน 50 ทีสำหรับผู้หญิงที่บรรลุนิติภาวะซึ่งสุขภาพจิตสมบูรณ์และถ้ายินยอม และประหารชีวิตหากกระทำผิดเป็นครั้งที่สี่[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ การรับรู้เพศชอบด้วยกฎหมายในอิหร่านหากเกิดขึ้นกับการผ่าตัดแปลงเพศ[255]
อิรัก อิรัก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[256] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อิสราเอล อิสราเอล ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2506 (โดยพฤตินัย) และ 2531 (โดยนิตินัย)[257]
+ UN decl. sign.[2][258]
ใช่ การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2537 ไม่/ใช่ ไม่มีการแต่งงานทางแพ่งสำหรับคู่รักเพศเดียวกันหรือคู่รักเพศตรงกันข้ามและการแต่งงานใด ๆ ที่ไม่ใช่ทางศาสนาถ้าเกิดขึ้นในประเทศ แต่การสมรสเพศเดียวกันในต่างประเทศจะได้รับการยอมรับโดยรัฐบาลและมีการบันทึกไว้ในทะเบียนราษฎร์โดยกระทรวงมหาดไทย ไม่ การรับบุตรบุญธรรมของคู่รักเพศเดียวกันถูกปฏิเสธโดยพฤตินัย[259] ใช่ Since 1993 ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์;[260][261] กฎหมายพื้นฐาน: ศักดิ์ศรีและอิสรภาพของมนุษย์นำมาใช้กับคนรักร่วมเพศและไปเซ็กซ์ชวล[262] ใช่ การรับรู้อย่างเต็มที่ของเพศโดยปราศจากการผ่าตัดหรือการแทรกแซงทางการแพทย์;[263] การจ้างงานโดยเท่าเทียมกันบนกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติโดยอัตลักษณ์ทางเพศ;[264][265] กฎหมายพื้นฐาน: ศักดิ์ศรีและอิสรภาพของมนุษย์นำมาใช้กับคนที่แปลงเพศด้วย[264][266]
จอร์แดน จอร์แดน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[267]
คูเวต คูเวต ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ปรับหรือจำคุกไม่เกิน 6 ปี
ใช่ ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายเสมอ[2][268]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เลบานอน เลบานอน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[269] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย
โอมาน โอมาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับหรือจำคุกไม่เกิน 3 ปี (บังคับใช้เฉพาะเมื่อเป็น "เรื่องอื้อฉาวในสาธารณะ")[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
รัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ (ฉนวนกาซา) เวสท์แบ็งก์:
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494 (เป็นส่วนหนึ่งของจอร์แดน)[2]
กาซา:ไม่
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: (โดยพฤตินัย) ประหาร/ดำเนินคดีอาญาพิเศษ (โดยนิตินัย) จำคุกถึง 10 ปี
ใช่ ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมาย[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับและจำคุกถึง 7 ปี[2] หรือประหารชีวิต[270].
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกหลายเดือนหรือตลอดชีวิต, ปรับ และ/หรือ เฆี่ยน/โบย, ทำหมัน, ทรมานร่างกาย หรือประหารชีวิตหากทำความผิดครั้งที่สอง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซีเรีย ซีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี (กฎหมายถูกระงับโดยพฤตินัย)[271][2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ บุคคลข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนเพศ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามหฎหมายสหพันธรัฐ
โทษ: เนรเทศ ปรับ จำคุก หรือประหารชีวิต[270]
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเอมิเรตส์ดูไบ
โทษ: จำคุกถึง 14 ปี
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเอมิเรตส์อาบูดาบี
โทษ: จำคุกถึง 10 ปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ การผ่าตัดแปลงเพศสำหรับบุคคลที่มีเพศไม่ชัดเจนหรือบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพไม่ตรงกับสภาพทางสรีรวิทยา ชีววิทยา และลักษณะทางพันธุกรรม[272][273][274]
เยเมน เยเมน ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ลงโทษชายที่ยังไม่ได้สมรสด้วยการเฆี่ยน 100 ทีหรือจำคุกสูงสุดหนึ่งปี สำหรับชายที่สมรสแล้วโทษประหารชีวิตโดยการขว้างหิน ลงโทษหญิงด้วยการจำคุกถึง 3 ปี; เมื่อกระทำความผิดโดยขมขู่การลงโทษจะยาวนานถึงเจ็ดปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

เอเชียใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 10 ปีถึงตลอดชีวิต[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มีเพศที่สาม (ฮิจรา) นอกจากเพศชายและเพศหญิง[275]
บังกลาเทศ บังกลาเทศ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 10 ปีหรือตลอดชีวิต[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ตัวเลือกที่สาม (ฮิจร่า) มีให้เลือกนอกเหนือจากชายและหญิง[276]
ภูฏาน ภูฏาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกถึง 1 ปี (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราขอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2548 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบการป้องกันดินแดน
อินเดีย อินเดีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2561[277] ไม่ เสนอแล้ว[278] ไม่ เสนอแล้ว[278] ไม่ เสนอแล้ว ไม่ มีการรับรองว่าชอบด้วยกฎหมายจากศาล แต่ปัจจุบันยังไม่มีการยอมรับจากทางกองทัพเอง[279]; มีการเสนอกฎหมายเพิ่มเติม ไม่/ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติในหน่วยงานรัฐและรัฐบาลเท่านั้น ใช่ ตัวเลือกที่สาม (ฮิจร่า) มีให้เลือกนอกเหนือจากชายและหญิง, บุคคลข้ามเพศมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญในการเปลี่ยนเพศ[280]
มัลดีฟส์ มัลดีฟส์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: สำหรับผู้ชายโทษเนรเทศเป็นเวลาเก้าเดือนถึงหนึ่งปีหรือเฆี่ยน 10 ถึง 30 ครั้ง สำหรับผู้หญิงโทษกักบริเวณเป็นเวลาเก้าเดือนถึงหนึ่งปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เนปาล เนปาล ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ เสนอแล้ว ไม่ เสนอแล้ว ไม่ เสนอแล้ว ใช่ ใช่ รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติตั้งแต่ 2558 ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติ[281]
ปากีสถาน ปากีสถาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 2 ปีถึงตลอดชีวิต[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มีสิทธิเปลี่ยนเพศ; คนแปลงเพศและกะเทยได้รับการคุ้มครองจากทุกการเลือกปฏิบัติและการละเมิด[282]
ศรีลังกา ศรีลังกา อย่างน้อยที่สุดมีคำพิพากษาให้ไม่บังคับใช้การลงโทษโดยศาลสูง, รายงานต่าง ๆ รายงานว่ามีการลดโทษลงในระบบกฎหมายของศรีลังกา[283]

[284]

ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[285][286] ใช่ บุคคลที่เป็นทรานส์สามารถเปลี่ยนเพศและชื่อได้ชอบด้วยกฎหมายหลังจากการผ่าตัดแปลงเพศตั้งแต่ 2559[287][288]

เอเชียตะวันออก

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
จีน จีน
(สาธารณรัฐประชาชน)
Yes ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
ฮ่องกง ฮ่องกง
(เขตปกครองพิเศษของจีน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534[2] ไม่ ไม่ ไม่ อาจรับบุตรบุญธรรมโดยฝ่ายหนึ่ง[289]
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นผู้รับผิดชอบในการป้องกันฮ่องกง โดยไม่คำนึงถึงรสนิยมทางเพศ ทหารจะไม่ได้รับเลือกใหม่จากฮ่องกง[ต้องการอ้างอิง]
ไม่ เฉพาะพนักงานของรัฐบาล สินค้าและบริการเท่านั้น ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
มาเก๊า มาเก๊า
(เขตปกครองพิเศษของจีน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539[2] ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นผู้รับผิดชอบในการป้องกันมาเก๊า โดยไม่คำนึงถึงรสนิยมทางเพศ ทหารจะไม่ได้รับเลือกใหม่จากมาเก๊า
ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2423
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่/ใช่ การเป็นคู่ครองแบบไม่ผูกพันตามกฎหมายใน 6 เขตอำนาจศาลเทศบาล (ชิบูยะ เซตางายะ อิงะ ทาการาซูกะ นาฮะ และซัปโปโระ) ไม่ ไม่ ใช่ ไม่/ใช่ ไม่ใช่การปกป้องแบบทั่วประเทศ แต่บางนครนั้นต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] (การต่อต้านการเลือกปฏิบัติทั่วประเทศอยู่ระหว่างเสนอ) ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว และในกรณีบุคคลธรรมดาที่ไม่มีบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี
มองโกเลีย มองโกเลีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2504
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้
เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ทราบแม้ว่าจะมีการกำหนดบทบาททางเพศมากมายทั้งชายและหญิง ดูที่หนังสือให้ตัดผมตามวิถีทางการดำเนินชีวิตแบบสังคมนิยม
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามในสหประชาชาติ[2]
ไม่ (เสนอการเป็นหุ้นส่วนชีวิต) ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้
สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2438[290] ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560[291] ไม่/(จะชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2562[292]) ไม่ (การเสนอ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจรับบุตรบุญธรรม) ใช่ เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ในการทำงานและการศึกษา) ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้ ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัดตั้งแต่ปี 2558[293]

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บรูไน บรูไน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับและจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ประหารโดยการขว้างหิน[294]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ประเทศพม่า พม่า ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: มากถึงจำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[294]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กัมพูชา กัมพูชา ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[294]
ไม่ ไม่ ห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 แม้ว่าจะมีตัวอย่างของการจดทะเบียนที่ถูกต้องตามกฎหมายและเป็นที่ยอมรับในการสมรสเพศเดียวกัน ไม่ ไม่
ติมอร์-เลสเต ติมอร์ตะวันออก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2518
และลงนามสหประชาชาติ[294]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ห้ามการการเกลียดชังในอาชญากรรมที่ขึ้นกับรสนิยมทางเพศ
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศ, เว้นแต่; ในจังหวัดอาเจะห์ [295][294] (อายุมีผลในการได้รับการยินยอม) ไม่ ไม่ ไม่ ไม่[296] ไม่ ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศได้ตามกฎหมาย
ลาว ลาว ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[294]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาเลเซีย มาเลเซีย No ไม่ชอบด้วยกฎหมายในผู้ชาย
โทษ: ปรับและจำคุก (2-20 ปี) หรือเฆี่ยน[2][297]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2476[298][294][299] ไม่ (ดำเนินการ)[298] ไม่ (ดำเนินการ)[300] ไม่ อาจรับบุตรบุญธรรมได้[301] ใช่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 ใช่[302] เซบู[303] เมืองเคซอน, Davao[304] และอัลเบย์มีกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติ[305] ไม่ (ดำเนินการ)[306]
สิงคโปร์ สิงคโปร์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในผู้ชาย
โทษ: จำคุกไม่เกิน 2 ปี (ไม่บังคับใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2542)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในผู้หญิงตั้งแต่ พ.ศ. 2550[294]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร แต่เกย์จะไม่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในโรงเรียนหรือหน่วยงานที่มีความสำคัญ ไม่ ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศของตนได้อย่างชอบด้วยกฎหมาย แต่ต้องผ่านการผ่าตัดแปลงเพศแล้วเท่านั้น
ไทย ไทย Yes ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2499
+ และลงนามสหประชาชาติ[294]
ไม่ กำลังเสนอ[307] ไม่ ไม่ กำลังเสนอ[308] ใช่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ มีการต่อต้านการเลือกปฏิบัติในการแสดงออกทางเพศ[297][309][310]
เวียดนาม เวียดนาม ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในประเทศ)[294]
ไม่ ไม่[311] ไม่ ไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลงเพศสามารถยอมรับได้สำหรับคนที่มีข้อบกพร่องทางเพศโดยกำเนิด และการผ่าตัดแปลงเพศตั้งแต่ พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป

ทวีปยุโรป

รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปยุโรป

สหภาพยุโรป

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
สหภาพยุโรปสหภาพยุโรป Yes ชอบด้วยกฎหมายในทุก 28 รัฐสมาชิก[312] ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายใน 22 จาก 28 รัฐสมาชิก
ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายใน 14 จาก 28 รัฐสมาชิก
ใช่/ไม่ รับบุตรบุญธรรมได้ชอบด้วยกฎหมายใน 13 จาก 28 รัฐสมาชิก
รับบุตรเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมได้ชอบด้วยกฎหมายใน 18 จาก 28 รัฐสมาชิก
ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายใน 27 จาก 28 รัฐสมาชิก
ใช่ การเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปขอให้รัฐต้องต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ในการจ้างงานเท่านั้น 3 จาก 28 รัฐสมาชิกต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ และ 25 จาก 28 รัฐสมาชิกต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายใน 27 จาก 28 รัฐสมาชิก[313]

ยุโรปกลาง

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ออสเตรีย ออสเตรีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตได้ตั้งแต่ 2553[314] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2562[315] ใช่ รับบุตรเลี้ยงมาเป็นบุตรบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2556
รับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ตั้งแต่ 2559[316][317]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[318]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[248]
โครเอเชีย โครเอเชีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2557[319] ไม่ ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่การลงประชามติในปี 2556[320] ใช่/ไม่ การเป็นผู้ปกครองร่วมกันตั้งแต่ 2557 (ความรับผิดชอบของผู้ปกครองและความสัมพันธ์ญาติสนิทถาวรระหว่างคู่ชีวิตและผู้ปกครองของเด็กจะถูกจดลงไว้ในสูติบัตรของเด็ก) ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8][321] ใช่ รัฐบัญญัติการกำจัดการเลือกปฏิบัติ ต่อต้านการเลือกปฏิบัติทุกประเภทโดยอ้างอิงอัตลักษณ์ทางเพศของทั้งสองเพศและการแสดงออกทางเพศ การเปลี่ยนเพศถูกกำกับดูแลโดยนโยบายพิเศษของกระทรวงสาธารณสุข[322]
เช็กเกีย เช็กเกีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505 (เป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวัก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2549[323] ไม่ กำลังเสนอ[324] ไม่ แอลจีบีทีที่จดทะเบียนกันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[325], การรับบุตรเลี้ยงและบุตรบุญธรรมร่วมกันกำลังเสนอ[326] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ได้รับการยินยอมทางกฎหมายและมีการปรับในสูติบัตร[ไม่อยู่ในแหล่งอ้างอิง] หลังจากการผ่าตัดแปลงเพศ (พร้อมการ mandatory sterilisation)[327]
เยอรมนี เยอรมนี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเยอรมนีตะวันออกตั้งแต่ 2511
ชอบด้วยกฎหมายในเบอร์ลินตะวันตกและเยอรมนีตะวันตกตั้งแต่ 2512
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][328]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2544[329] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[330] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[330] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[331][332] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[333]
ฮังการี ฮังการี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2552[334] ไม่ [335][336]
ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2555[337][338]
ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม (เสนอการรับบุตรบุญธรรมและบุตรเลี้ยงบุญธรรมร่วมกัน)[336] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ไม่ ไม่มีการรับรองทางกฎหมาย[327]
ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2532
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู้ชีวิตตั้งแต่ 2554[339] ไม่ ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[340] ไม่มีทหาร ไม่ (เสนอ)[ต้องการอ้างอิง] ไม่ การเปลี่ยนเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย[327]
โปแลนด์ โปแลนด์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่[341] ไม่[342] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม ห้ามรับโดยร่วมกัน[343] ใช่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่
โรมาเนีย โรมาเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[344] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ กฎหมายยินยอมและปรับในสูติบัตร[ไม่อยู่ในแหล่งอ้างอิง] หลังจากการผ่าตัดแปลงเพศ (sterilisation mandatory)[327]
สโลวาเกีย สโลวาเกีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505 (เป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวัก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2557[345] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[346] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[347][348] ใช่ (ร้องขอให้ทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[327])
สโลวีเนีย สโลวีเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2549[349];
Unregistered cohabitation since 2017[350]
ไม่ ใช่/ไม่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2554[351] Yes ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[352]
สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายทั่วประเทศใน 2485
ชอบด้วยกฎหมายในรัฐเจนีวา (เป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศส) รัฐตีชีโน รัฐวาเล และ รัฐโว ตั้งแต่ 2341
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][353]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตในเจนีวา (2544),[354] ซือริช (2546),[355] เนอชาแตล (2547)[356] และฟรีบูร์ (2547)[356]
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2550[357]
ไม่ (เสนอ)[358] ใช่/ไม่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ใช่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์อยู่ระหว่างเสนอ)[359] ใช่ เอกสารทางกฎหมายสามารถออกใหม่ได้โดยพิจารณาจากอัตลักษณ์ทางเพศใหม่ของบุคคล โดยเทคนิคจำเป็นต้องทำหมันด้วยแต่ไม่บังคับใช้แล้วตั้งแต่ 2555 การจดทะเบียนคู่ชีวิตสามารถเป็นการแต่งงานระหว่างคู่รักเพศตรงกันข้ามใหม่ได้[360]

ยุโรปตะวันออก

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อับฮาเซีย อับคาเซีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ใช่/ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2558[361][362] การไปแต่งงานเพศเดียวกันในต่างประเทศได้รับการยอมรับในปี 2560[363] ไม่ ไม่/ใช่ ไม่มีการห้ามอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม บุคคลเพศทางเลือกจะถูกขับออกโดยรายงานด้วยเหตุผลด้านรสนิยมทางเพศ[364] ไม่ ไม่
อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543[2] ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[365] ไม่ ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[327])
เบลารุส เบลารุส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537[2] ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2537 [366] ไม่ ไม่/ใช่ ถูกห้ามจากการรับราชการทหารในช่วงเวลาสงบ แต่ระหว่างสงครามคนรักร่วมเพศจะได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมได้[367] ไม่ ใช่
สาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์ โดเนตสค์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534
(เป็นส่วนหนึ่งของยูเครน)[368][369]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ (ถูกเสนอให้ห้ามในรัฐธรรมนูญ)[370][371] ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[372] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[327])
คาซัคสถาน คาซัคสถาน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1998[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[242]
สาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ ลูฮานสค์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534
(เป็นส่วนหนึ่งของยูเครน)[368][373]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มอลโดวา มอลโดวา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2538
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2537[374] ไม่ ใช่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[327])
รัสเซีย รัสเซีย ใช่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายเสมอ[375][2]
ไม่ ไม่ (เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ)[376] ไม่ ใช่ ไม่ ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[327])
เซาท์ออสซีเชีย เซาท์ออสซีเชีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ทรานส์นีสเตรีย ทรานส์นีสเตรีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2545[377] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ (เสนอ)[378]
ยูเครน ยูเครน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2539[379] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[380] ไม่/ใช่ นโยบายขึ้นอยู่กับคณะกรรมาธิการภูมิภาค[381] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[382] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[327])

ยุโรปเหนือ

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เดนมาร์ก เดนมาร์ก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2532 ถึง 2555 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[383] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555[384][385] ใช่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2542
รับร่วมกันได้ตั้งแต่ 2553[386]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[387]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ เปลี่ยนเพศได้ตามกฎหมายและรับรองโดยไม่ต้องผ่าตัดหรือบำบัดด้วยฮอร์โมน[388]
เอสโตเนีย เอสโตเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ลงนามข้อตกลงการอยู่ร่วมกันได้ตั้งแต่ 2559[389] ใช่/ไม่ การสมรสในต่างประเทศได้รับการยอมรับตั้ง 2559[390] ใช่/ไม่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2559 คู่รักที่ไม่สามารถมีบุตรได้อาจร่วมกันรับเด็กที่ไม่ใช่ทางชีวภาพมาเลี้ยงได้ตั้งแต่ 2559 ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การโอนเพศชอบด้วยกฎหมาย[327]
หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเดนมาร์ก)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ สมรสได้ตั้งแต่ 2560 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[391][392] ใช่ (สำหรับคู่รักที่สมรสแล้ว) ใช่ (เดนมาร์กรับผิดชอบในด้านการป้องกันดินแดน) ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[393][394] ไม่[395]
ฟินแลนด์ ฟินแลนด์
หมู่เกาะโอลันด์(รวมทั้งหมู่เกาะโอลันด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2545 ถึง 2560 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[396] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[397] ใช่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2552
รับบุตรบุญธรรมร่วมกันตั้งแต่ 2560
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายและยอมรับโดยต้องทำหมัน[398]
ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2483
(เป็นส่วนหนึ่งของเดนมาร์ก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนการอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 2549[399];
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2539 ถึง 2553 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[400]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[401][402] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2549[403]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[404]
ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ สามารถแก้ไขเอกสารตามเพศที่รับรองได้[405][327]
ลัตเวีย ลัตเวีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549[406] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[407] ใช่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ มีการแก้ไขเอกสารได้โดยไม่ต้องมีการแทรกแซงทางการแพทย์[408]
ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ (เสนอข้อตกลงการอยู่ร่วมกัน)[409] ไม่ ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2535[410] ไม่ เฉพาะคู่รักที่แต่งงานกันเท่านั้น[411] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[412]
นอร์เวย์ นอร์เวย์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2515
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2536 ถึง 2552 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[413] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[414][415] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[416]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[417]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ เอกสารทั้งหมดสามารถแก้ไขให้เป็นเพศที่รับรองได้[248]
สวีเดน สวีเดน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2487
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2538 ถึง 2552 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[418] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[419] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[420]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[421]
ใช่ [422] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่[423]

ยุโรปใต้

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แอโครเทียรีและดิเคเลีย แอโครเทียรีและดิเคเลีย
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][424][425]
ใช่ (สำหรับสมาชิกกองกำลังบริติช)[426] ใช่ (สำหรับสมาชิกกองกำลังบริติช)[427] ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุก[ต้องการอ้างอิง] การเลือกปฏิบัติต่อเกย์[428]
แอลเบเนีย แอลเบเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2538
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ห้ามเลือกปฏิบัติตามอัตลักษณ์ทางเพศ[429]

ไม่ ไม่มีกฎหมายรองรับ[327]

อันดอร์รา อันดอร์รา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2533
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การสมรสคงตัวตั้งแต่ 2548[430]; Civil union ตั้งแต่ 2557[431] ไม่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[432][431][433] ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ไม่ ไม่มีกฎหมายรองรับ[327]
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541 ในสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐเซิร์ปสกา ตั้งแต่ 2543 และ Brcko District ตั้งแต่ 2545
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชัง แต่ต้องผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนเพศ[434]
บัลแกเรีย บัลแกเรีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2511
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2534[435] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[436] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ แต่ต้องทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[437][438]
ไซปรัส ไซปรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนการอยู่ร่วมกันพลเมืองตั้งแต่ 2558[439] ไม่ ไม่ ไม่ (เป็นเพียงประเทศเดียวในกลุ่มสหภาพยุโรปที่ห้ามกลุ่มคนหลากหลายทางเพศเข้ารับราชการทหาร/ไม่บังคับใช้)[440] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ[441]

ไม่ การเปลี่ยนเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย

ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ คู่ชีวิตพลเมืองตั้งแต่ 2557[442] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[443] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ถูกเสนอ)[444] (เสนอ)[445]
กรีซ กรีซ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494 + ลงนามสหประชาชาติ[2] ใช่ ลงนามข้อตกลงการอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 2558[446] ไม่ ไม่ ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ไม่ร้องขอการทำหมันสำหรับการเปลี่ยนเพศอย่างชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 โดยศาลปกครอง[447]
อิตาลี อิตาลี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2433
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2559[448][449] ไม่[450][451] (เสนอ)[452][453][454] ใช่/ไม่ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมได้โดยศาลฎีกา[455][456].

ศาลฟลอเรนซ์สำหรับผู้เยาว์ยอมรับการรับบุตรบุญธรรมร่วมกันของคู่เกย์ชาวต่างชาติ[457]

ใช่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2525 มีการยอมรับทางกฎหมายและแก้ไขเอกสารให้เป็นเพศที่รู้จักได้[458] ศาลฎีกาได้อธิบายเมื่อปี 2557 ว่าไม่จำเป็นต้องมีการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[459]
คอซอวอ คอซอวอ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537
(ส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)[2]
ไม่ ไม่[460] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[461][462] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[463] ไม่ ไม่มีกฎหมายรองรับ[327]
มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ไม่ ไม่
มอลตา มอลตา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2516
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2557[464] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2558[465]
มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2550[466][467] ไม่ ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ แต่ต้องทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[248][327]
นอร์เทิร์นไซปรัส นอร์เทิร์นไซปรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[251][252][2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[251][252] ใช่ การเลือกปฏิบัติหรือแสดงความเกลียดชังด้วยคำพูดถูกต่อต้านตั้งแต่ 2557[251][252]

ไม่ทราบถึงกฎหมายการเปลี่ยนเพศ

โปรตุเกส โปรตุเกส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การสมรสโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2544[468][469] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[470] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 (+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[471][472][473] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์.[8] ใช่ ตั้งแต่ 2554 เอกสารทั้งหมดสามารถเปลี่ยนให้เป็นเพศที่รู้จักได้[474]
ซานมารีโน ซานมารีโน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2408
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่/ไม่ การอยู่ร่วมกันแบบไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2555 (สำหรับสิทธิเดียวเท่านั้น); การจดทะเบียนคู่ชีวิตถูกเสนอ[475][476] ไม่ ไม่ เสนอการรับบุตรเลี้ยงบุญธรรม[477] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ไม่ ไม่มีกฎหมายรองรับ[248]
เซอร์เบีย เซอร์เบีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายนับจาก 2401 เมื่อเป็นเมืองขึ้นในนามของจักรวรรดิออตโตมัน ถึง 2403[478] และอีกครั้งตั้งแต่ 2537 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ถูกเสนอพร้อมกฎหมายครอบครัวฉบับใหม่ในปี 2560 ไม่ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549[479] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550[480][481]
สเปน สเปน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การสมรสโดยพฤตินัยในแคว้นกาตาลุญญา (2541),[482] แคว้นอารากอน (2542),[482] แคว้นนาวาร์ (2543),[482] แคว้นกัสติยา-ลามันชา (2543),[482] บาเลนเซีย (2544),[483] หมู่เกาะแบลีแอริก (2544),[484] แคว้นมาดริด (2544),[482] แคว้นอัสตูเรียส (2545),[485] แคว้นกัสติยาและเลออน (2545),[486] แคว้นอันดาลูซิอา (2545),[482] แคว้นกานาเรียส (2546),[482] แคว้นเอซเตรมาดูรา (2003),[482] แคว้นประเทศบาสก์ (2546),[482] แคว้นกันตาเบรีย (2548),[487] แคว้นกาลิเซีย (2551)[488] และแคว้นลาริโอฆา (2553)[489] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[490] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[491]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[492]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2550 สามารถแก้ไขทุกเอกสารตามเพศที่รับรองได้[493]
ตุรกี ตุรกี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2401[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ (เสนอ)[254] ไม่ (เสนอ)[254] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[494])
นครรัฐวาติกัน นครรัฐวาติกัน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2433 (เป็นส่วนหนึ่งของอิตาลี)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่

ยุโรปตะวันตก

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบลเยียม เบลเยียม ใช่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2338
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่ร่วมกันตามกฎหมายตั้งแต่ 2543[495] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[496][497][498] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[499]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[500]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนขื่อไม่จำเป็นในการเปลี่ยนเพศแล้ว และ การเปลี่ยนเพศ (ทั้งทางกฎหมายและกายภาพ) ไม่จำเป็นต้องทำหมัน[501].
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2334
ชอบด้วยกฎหมายในซาวอยตั้งแต่ 2335
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542[502] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[503] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[504] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน[505]
เกิร์นซีย์ เกิร์นซีย์
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[506][507][2]
ไม่/ใช่ การเป็นหุ้นส่วนชีวิตในนอกสหราชอาณาจักรได้รับการยอมรับเพื่อวัตถุประสงค์ด้านมรดกและอื่น ๆ ในด้านทรัพย์สินตั้งแต่ 2555 การเป็นคู่ชีวิตได้รับการยอมรับตั้งแต่ 2560 (ไม่นำมาใช้ในชาร์ก)[508][509][510] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[511]
ไม่ ไม่นำมาใช้ในชาร์กและอัลเดอร์นีย์ [ไม่อยู่ในแหล่งอ้างอิง][ต้องการอ้างอิง]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[512] ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[513] ใช่ กฎการต่อต้านการเลือกปฏิบัติ 2547 การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550: เฉพาะหลักกฎหมายที่ถือเอาคำพิพากษาเป็นบรรทัดฐานเท่านั้น อนุญาตให้มีการออกสูติบัตรฉบับใหม่เท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขหรือลบสูติบัตรฉบับเดิมได้ ในอัลเดอร์นีย์และชาร์กนั้นไม่ชัดเจน อาจขยายไปถึงเฮิร์ม[513][514]
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ ใช่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2554 ถึง 2558 (ทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[515] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 หลังจากการลงประชามติรัฐธรรมนูญ[516] ใช่ รับบุตรร่วมกันตั้งแต่ 2559 การรับบุตรเลี้ยงบุญธรรมไม่ชอบด้วยกฎหมายสำหรับทุกคู่ แต่ผู้ปกครองโดยกำเนิดและคู่ครองสามารถรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมร่วมได้[517][518][519][520]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[521]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[522][523][524] ใช่ รัฐบัญญัติการยอมรับเพศ 2558 [525]
ไอล์ออฟแมน ไอล์ออฟแมน
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2554[526] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[527] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2554 ใช่ สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[528] ใช่ บุคคลที่มีภาวะอยากแปลงเพศ ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนเพศตามกฎหมายของตนได้และมีเพศใหม่ที่ยอมรับได้ตามผลของ พระราชบัญญัติการยอมรับเพศ 2552 (c.11).[529][530]
เจอร์ซีย์ เจอร์ซีย์
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2533
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2555[531] ไม่ (เสนอ)[532] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555 ใช่ สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[533] ใช่ กฎหมายการยอมรับเพศ (เจอร์ซีย์) 2553[534]
ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2338
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2547[535] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[536][537] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[538] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[539] ใช่ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[327])
โมนาโก โมนาโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2336
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ (เสนอ)[540] ไม่ ไม่ ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2354
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2541[541] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544[542] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544[543]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[544]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[545] ใช่[546]
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร ใช่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษและเวลส์ตั้งแต่ 2510 ในสกอตแลนด์ตั้งแต่ 2524 และในไอร์แลนด์เหนือตั้งแต่ 2525
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2548[547] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์ตั้งแต่ 2557[548][549]
ไม่ ทำไม่ได้ในไอร์แลนด์เหนือ
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษและเวลส์ตั้งแต่ 2548 ในสกอตแลนด์ตั้งแต่ 2552 และในไอร์แลนด์เหนือตั้งแต่ 2556[550][551]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[552]
ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[553][2] ใช่ พระราชบัญญัติการรับรองเพศ 2547

ทวีปโอเชียเนีย

รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปโอเชียเนีย

ออสตราเลเซีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
(รวมทั้งดินแดน
 เกาะคริสต์มาส,
 หมู่เกาะโคโคส และ
 เกาะนอร์ฟอล์ก)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในรัฐเซาท์ออสเตรเลียตั้งแต่ 2515 ในรัฐวิกทอเรียตั้งแต่ 2524 รัฐนิวเซาท์เวลส์ตั้งแต่ 2526 ใน นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีตั้งแต่ 2527 ในออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรีตั้งแต่ 2528 ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียตั้งแต่ 2533 ในรัฐควีนส์แลนด์ตั้งแต่ 2534 ในเกาะนอร์ฟอล์กตั้งแต่ 2536 และ ในรัฐแทสเมเนียตั้งแต่ 2540
ชอบด้วยกฎหมายในเกาะคริสต์มาสและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนระดับชาติตั้งแต่ 2552

หุ้นส่วนชีวิตในแทสเมเนีย (2547)[554] เซาท์ออสเตรเลีย (2550)[555] วิกทอเรีย (2551)[556] นิวเซาท์เวลส์ (2553)[557] and ควีนแลนด์ (2555)[558];
การจดทะเบียนคู่ชีวิตในออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรี (2555)[559]

ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[560] ใช่ การรับบุตรบุญธรรมร่วมกันชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ 2545, ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2561 ใช่ ตั้งแต่ 2535[561] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[562] ใช่[562]
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2529
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2545;
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2548
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[563] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[563] ใช่ ตั้งแต่ 2536 ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ครอบคลุมภายใต้เงื่อนไข "การเลือกปฏิบัติทางเพศ" ของพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน 2536 ตั้งแต่ 2549

เมลานีเซีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ฟีจี ฟิจิ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553
+ ลงนามสหประชาชาติ[564][2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]
นิวแคลิโดเนีย นิวแคลิโดเนีย
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2552 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน
ปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 3 ถึง 14 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโซโลมอน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด (คาดว่าจะนำมาใช้แทนรัฐธรรมนูญเดิมในปลายปี 2559) อนุญาตให้มีการเลือกปฏิบัติอย่างชัดเจนในแง่ของรสนิยมทางเพศ และยังสนับสนุนในเรื่องความเกลียดชัง (และการก่อกวนให้นำไปสู่อันตราย) โดยขึ้นกับรสนิยมทางเพศ[565] ไม่
วานูวาตู วานูอาตู ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ไม่

ไมโครนีเซีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
กวม กวม
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2521
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542 ใช่ ความรับผิดชอบของสหรัฐ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ใช่ ห้ามการเลือกปฏิบัติบบางอย่างเกี่ยวกับการแสดงออกด้านอัตลักษณ์ทางเพศ
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ไมโครนีเชีย ประเทศไมโครนีเซีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร
คิริบาส คิริบาส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 14 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ไม่
หมู่เกาะมาร์แชลล์ หมู่เกาะมาร์แชลล์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่
นาอูรู นาอูรู ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[566][567]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ใช่ ความรับผิดชอบของสหรัฐ ใช่ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย ใช่ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ปาเลา ปาเลา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557
+ ลงนามสหประชาชาติ[568]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2551 ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
สหรัฐอเมริกา เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่

พอลินีเชีย

สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อเมริกันซามัว อเมริกันซามัว
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)[569]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2523
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่[570] ไม่ ใช่ ความรับผิดชอบของสหรัฐ ใช่ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย ใช่ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
เกาะอีสเตอร์ เกาะอีสเตอร์
(ดินแดนพิเศษของชิลี)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542
(อายุที่ไม่ยินยอม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ คู่ชีวิตตั้งแต่ 2558 ไม่ ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม (เสนอ) ใช่ ชิลีเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ตั้งแต่ 2550
หมู่เกาะคุก หมู่เกาะคุก
(เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 14 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[571] ไม่
เฟรนช์พอลินีเชีย เฟรนช์พอลินีเชีย
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน
นีวเว นีวเว
(ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์
หมู่เกาะพิตแคร์น หมู่เกาะพิตแคร์น
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[572] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[573] ใช่ สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ รัฐธรรมนูญห้ามการเลือกปฏิบัติ[574]
ซามัว ซามัว ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 7 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[575] ใช่ ซามัวมีกลุ่มคนข้ามเพศขนาดใหญ่หรือชุมชน "เพศที่สาม" เรียกว่า ฟาอาฟาฟิเน นี่เป็นส่วนหนึ่งของการยอมรับศุลกากรดั้งเดิมของชาวซามัว และมักหมายถึงทรานส์วูแมน
โตเกเลา โทเคอเลา
(ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์ ไม่ ไม่
ตองงา ตองงา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุดถึง 10 ปีและโดนเฆี่ยน (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ตูวาลู ตูวาลู ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่
สหรัฐอเมริกา เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย ใช่ สหรัฐเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
วอลิสและฟูตูนา วาลิสและฟูตูนา
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2552 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน

อ้างอิง

  1. ในกฎหมาย "ซึ่งมีจุดประสงค์ในการปกป้องเด็กจากข้อมูลที่สนับสนุนการปฏิเสธค่านิยมครอบครัวตามธรรมเนียม" ของรัสเซีย ชาวต่างอาจถูกจับกุมและจำคุกไม่เกิน 15 วันก่อนถูกเนรเทศ หรืออาจถูกปรับไม่เกิน 5,000 รูเบิลและเนรเทศ
  2. 2.000 2.001 2.002 2.003 2.004 2.005 2.006 2.007 2.008 2.009 2.010 2.011 2.012 2.013 2.014 2.015 2.016 2.017 2.018 2.019 2.020 2.021 2.022 2.023 2.024 2.025 2.026 2.027 2.028 2.029 2.030 2.031 2.032 2.033 2.034 2.035 2.036 2.037 2.038 2.039 2.040 2.041 2.042 2.043 2.044 2.045 2.046 2.047 2.048 2.049 2.050 2.051 2.052 2.053 2.054 2.055 2.056 2.057 2.058 2.059 2.060 2.061 2.062 2.063 2.064 2.065 2.066 2.067 2.068 2.069 2.070 2.071 2.072 2.073 2.074 2.075 2.076 2.077 2.078 2.079 2.080 2.081 2.082 2.083 2.084 2.085 2.086 2.087 2.088 2.089 2.090 2.091 2.092 2.093 2.094 2.095 2.096 2.097 2.098 2.099 2.100 2.101 2.102 2.103 2.104 2.105 2.106 2.107 2.108 2.109 2.110 2.111 2.112 2.113 2.114 2.115 2.116 2.117 2.118 2.119 2.120 2.121 2.122 2.123 2.124 2.125 2.126 2.127 2.128 2.129 2.130 2.131 2.132 2.133 2.134 2.135 2.136 2.137 2.138 2.139 2.140 2.141 2.142 2.143 2.144 2.145 2.146 2.147 2.148 2.149 2.150 2.151 2.152 2.153 2.154 2.155 2.156 2.157 2.158 2.159 2.160 2.161 2.162 2.163 2.164 2.165 2.166 2.167 2.168 2.169 2.170 2.171 2.172 2.173 2.174 2.175 2.176 2.177 2.178 2.179 2.180 2.181 2.182 2.183 2.184 2.185 2.186 2.187 2.188 2.189 2.190 2.191 2.192 2.193 2.194 2.195 2.196 2.197 2.198 2.199 2.200 2.201 2.202 2.203 2.204 2.205 2.206 2.207 2.208 2.209 2.210 2.211 2.212 2.213 2.214 2.215 2.216 2.217 2.218 2.219 2.220 2.221 2.222 2.223 2.224 2.225 2.226 2.227 2.228 2.229 2.230 2.231 2.232 2.233 2.234 2.235 2.236 2.237 2.238 2.239 2.240 2.241 2.242 2.243 2.244 2.245 "State Sponsored Homophobia 2016: A world survey of sexual orientation laws: criminalisation, protection and recognition" (PDF). International Lesbian, Gay, Bisexual, Trans and Intersex Association. 17 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-09-02. สืบค้นเมื่อ 19 May 2016.
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 "Where is it illegal to be gay? - BBC News". Bbc.com. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  4. Galán, José Ignacio Pichardo. "Same-sex couples in Spain. Historical, contextual and symbolic factors" (PDF). Institut national d'études démographiques. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-07-23. สืบค้นเมื่อ 30 December 2012.
  5. "Spain approves liberal gay marriage law". St. Petersburg Times. 2005-07-01. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
  6. "Spain - Intercountry Adoption". travel.state.gov.
  7. (สเปน) Boletín Oficial del Estado Ley 14/2006, de 26 de mayo, sobre técnicas de reproducción humana asistida (see Article 7)
  8. 8.00 8.01 8.02 8.03 8.04 8.05 8.06 8.07 8.08 8.09 8.10 8.11 8.12 8.13 8.14 8.15 8.16 8.17 8.18 8.19 8.20 8.21 8.22 8.23 8.24 8.25 8.26 8.27 8.28 8.29 8.30 8.31 "ILGA-Europe" (PDF). ilga-europe.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-05-30. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  9. 9.0 9.1 9.2 Ley 3/2007, de 15 de marzo, reguladora de la rectificación registral de la mención relativa al sexo de las personas (สเปน)
  10. Reglamento regulador del Registro de Uniones de Hecho (สเปน)
  11. 11.0 11.1 "Spain approves liberal gay marriage law". St. Petersburg Times. 2005-07-01. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
  12. 12.0 12.1 "Adoption in Spain". Intercountry Adoption. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 13.6 13.7 "ILGA-Europe". ilga-europe.org.
  14. "Egypt (Law) - ILGA". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  15. "Libyan Penal Code of 1953, Amended 1956 (selected provisions related to women) – 4: Title III – Offences Against Freedom, Honour and Morals". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-08. สืบค้นเมื่อ 19 May 2017.
  16. Law no. 7/2001, from 11 May (specifically Article 1, no. 1). (โปรตุเกส)
  17. AR altera lei das uniões de facto เก็บถาวร 2015-10-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (โปรตุเกส)
  18. Law no. 9/2010, from 30th May.
  19. Lei 17/2016 de 20 de junho (โปรตุเกส)
  20. Lei que alarga a procriação medicamente assistida publicada em Diário da República เก็บถาวร 2019-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (โปรตุเกส)
  21. Todas as mulheres com acesso à PMA a 1 de Agosto (โปรตุเกส)
  22. "MEPs welcome new gender change law in Portugal; concerned about Lithuania - The European Parliament Intergroup on LGBTI Rights". www.lgbt-ep.eu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  23. REGLAMENTO REGULADOR DEL REGISTRO DE PAREJAS DE HECHO DE LA CIUDAD AUTÓNOMA DE MELILLA เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (สเปน)
  24. "Morocco (Law)". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  25. "Encyclopedia of Lesbian and Gay Histories and Cultures: An Encyclopedia. Gay histories and cultures. Vol. 2". Taylor & Francis. 8 November 2017 – โดยทาง Google Books.
  26. "La junta de protección a la infancia de Barcelona: Aproximación histórica y guía de su archivo" (PDF). สืบค้นเมื่อ 20 January 2011.
  27. "Tunisia (Law)". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  28. "Benin (Law)". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  29. "The Gambia passes bill imposing life sentences for some homosexual acts | World news". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  30. "Ghana (Law)". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  31. "LGBT Rights in Liberia - Equaldex". www.equaldex.com.
  32. "LGBT Rights in Mauritania - Equaldex". www.equaldex.com.
  33. "Nigeria (Law)". ilga.org. ILGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  34. "LGBT Rights in Senegal - Equaldex". www.equaldex.com.
  35. "Décret n° 160218 du 30 mars 2016 portant promulgation de la Constitution de la République centrafricaine" (PDF). ilo.org.
  36. "Marriage (Ascension) Ordinance, 2016" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-14. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  37. "This tiny island just passed same-sex marriage".
  38. "Everything you need to know about human rights. | Amnesty International". Amnesty.org. 2015-09-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-18. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  39. "Laws of Kenya ; The Constitution of Kenya" (PDF). Kenyaembassy.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  40. 40.0 40.1 Gettleman, Jeffrey (8 November 2017). "David Kato, Gay Rights Activist, Is Killed in Uganda" – โดยทาง www.nytimes.com.
  41. "สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในเอริเทรีย - Equaldex". www.equaldex.com.
  42. 42.0 42.1 Noor Ali (7 July 2013). "Gay Somali refugees face death threats". www.aljazeera.com.
  43. "LGBT Rights in Comoros - Equaldex". www.equaldex.com.
  44. "The Sexual Offences Bill" (PDF). mauritiusassembly.govmu.org. Government of Mauritius. 6 April 2007. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  45. "LGBT Rights in Mauritius - Equaldex". www.equaldex.com.
  46. 46.0 46.1 "Africa: Outspoken activists defend continent's sexual diversity - Norwegian Council for Africa". Afrika.no. 2009-08-06. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-15. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  47. "Equal Opportunities Act 2008" (PDF). Ilo.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  48. "Tiny African victory: Seychelles repeals ban on gay sex". 18 May 2016.
  49. "LGBT Rights in Angola - Equaldex". www.equaldex.com.
  50. Group, Global Media (23 February 2017). "Angola - Aprovada em Angola nova lei que penaliza aborto com prisão".
  51. Group, Global Media (28 June 2017). "Internacional - Votação do novo Código Penal angolano novamente adiada".
  52. "Employment & labour law in Angola". Lexology. 15 September 2015.
  53. Transgender Rights in Angola
  54. Fresh bid to decriminalise homosexuality, Mmegi Online
  55. "Press Release: Botswana High Court Rules in Landmark Gender Identity Case". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-28. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  56. Transgender Rights in Lesotho
  57. "Malawi suspends anti-gay laws as MPs debate repeal | World news". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  58. "Mozambique Gay Rights Group Wants Explicit Constitutional Protections | Care2 Causes". Care2.com. 2011-03-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  59. "Homosexuality Decriminalised in Mozambique". Kuchu Times. 2015-06-01. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  60. "Namibia". State.gov. 2002-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  61. "Namibia". Lgbtnet.dk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-02. สืบค้นเมื่อ 2015-09-29.
  62. Transgender Rights in Namibia
  63. http://www.royalgazette.com/news/article/20170505/landmark-same-sex-ruling
  64. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-02-10. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  65. Johnson, Ayo (15 June 2013). "MPs approve historic Human Rights Act changes". The Royal Gazette. สืบค้นเมื่อ 15 June 2013.
  66. "Criminal Code (R.S., 1985, c. C-46), Section 159, Subsection (1)". Department of Justice Canada. 21 May 2010.
  67. Law Reform (2000) Act
  68. "An Act instituting civil unions and establishing new rules of filiation" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  69. "Alberta: Adult Interdependent Relationships". Legal Resource Center of Alberta. 2006. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  70. THE COMMON-LAW PARTNERS' PROPERTY AND RELATED AMENDMENTS ACT
  71. LOI CONCERNANT CERTAINES CONDITIONS DE FOND DU MARIAGE CIVIL
  72. Status differs in provinces and territories:
  73. "Canadian Armed Forces". The Canadian Lesbian & Gay Archives. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 September 2012. สืบค้นเมื่อ 30 September 2010.
  74. Northwest Territories Human Rights Act, S.N.W.T. 2002, c.18. Section 5.
  75. "Ontario passes law to protect transgender people". CBC News. 13 June 2012. สืบค้นเมื่อ 13 June 2012.
  76. http://www2.gov.bc.ca/gov/topic.page?id=C53953157EE344A681EFD28325B526F4
  77. http://vitalstats.gov.mb.ca/change_of_sex_designation.html
  78. "1995-96 - L 162 (oversigt): Forslag til lov om ændring af kriminalloven og arveloven for Grønland. (Ændringer som følge af indførelse af registreret partnerskab)" (ภาษาเดนมาร์ก). Webarkiv.dk. สืบค้นเมื่อ 14 September 2012.
  79. Anordning om ikrafttræden for Grønland af lov om ændring af lov om registreret partnerskab m.v. เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เดนมาร์ก)
  80. L 122 Forslag til lov om ændring af myndighedsloven for Grønland, lov om ikrafttræden for Grønland af lov om ægteskabets retsvirkninger, retsplejelov for Grønland og kriminallov for Grønland.
  81. (สเปน) Leopoldo Ramos (11 January 2007). "Aprueba Coahuila la figura del pacto civil de solidaridad". La Jornada. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  82. (สเปน) Pedro Zamora Briseño (29 July 2013). "Aprueba Colima "enlace conyugal" entre parejas del mismo sexo". Proceso. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-24. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  83. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-22. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  84. (สเปน) "Jalisco avala Ley de Libre Convivencia para regular parejas del mismo sexo". CNN México. 31 October 2013. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  85. 85.0 85.1 David Agren (10 August 2010). "Mexican States Ordered to Honor Gay Marriages". New York Times. สืบค้นเมื่อ 11 August 2010.
  86. (สเปน) Varillas, Adriana (3 May 2012). "Revocan anulación de bodas gay en QRoo". El Universal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-26. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  87. (สเปน) Mauricio Torres (14 November 2013). "Senadores proponen legalizar el matrimonio gay en todo México". CNN México. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  88. (สเปน) "Propone Fernando Mayans Canabal reconocer el matrimonio sin distinción de preferencia sexual". Senado de México. 20 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  89. Summers, Claude (6 June 2015). "Mexico's Supreme Court Effectively Legalizes Same-Sex Marriage Nationwide". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  90. "SCJN abre la puerta a matrimonio gay en todo el país" (ภาษาสเปน). Mexico City, Mexico: La Journada. 12 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  91. "Suprema Corte ampara matrimonio igualitario" (ภาษาสเปน). Mexico: Animal Politico. 13 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-22. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  92. Associated Press (4 March 2010). "Mexico City's gay marriage law takes effect". MSNBC. สืบค้นเมื่อ 6 March 2010.
  93. (สเปน) Jesús Castro (12 February 2014). "Ya pueden parejas gay adoptar en Coahuila; PAN vota en contra". Vanguardia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2014. สืบค้นเมื่อ 12 February 2014.
  94. "Intercountry Adoption: Mexico". Office of Children Issues, U.S. Dept. of State. November 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2010. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  95. International Gay and Lesbian Human Rights Commission (IGLHRC) (23 April 2003). "Mexico protects its gay and lesbian citizens with new law". สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
  96. International Lesbian and Gay Association (ILGA) Trans (29 August 2008). "Mexico City extends official rights to transgender individuals". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2009. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
  97. Mexico, Protocol of Action for Those Who Impart Justice in Cases that Involve Sexual Orientation or Gender Identity (PDF) (ภาษาสเปน). Mexico City: Supreme Court of Justice of the Nation. August 2014. ISBN 978-607-96207-3-8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 September 2018. สืบค้นเมื่อ 17 June 2015.
  98. 98.0 98.1 98.2 98.3 98.4 98.5 Loi n° 99-944 du 15 novembre 1999 relative au pacte civil de solidarité (ฝรั่งเศส)
  99. 99.0 99.1 99.2 99.3 99.4 99.5 Vignal, Francois (15 April 2013). "Mariage pour tous : le détail du vote au Sénat" (ภาษาฝรั่งเศส). Public Senat. สืบค้นเมื่อ 27 October 2013.
  100. 100.0 100.1 100.2 100.3 100.4 100.5 http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/france.html
  101. 101.0 101.1 101.2 101.3 101.4 101.5 "France: Transsexualism will no longer be classified as a mental illness in France / News / Welcome to the ILGA Trans Secretariat / Trans / ilga - ILGA". Trans.ilga.org. 2009-05-16. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-10. สืบค้นเมื่อ 2013-11-21.
  102. "California Family Code Section 299.2". Onecle.
  103. "CitizenLink: Amendment Would Mean No Money to D.C. Domestic-Partner Registry". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-07.
  104. Summary of LD 1579
  105. "Oregon Registered Domestic Partners" (PDF). State of Oregon. สืบค้นเมื่อ December 11, 2012.
  106. "Senate Bill 566".
  107. Burroway, Jim (June 17, 2009). "Wisconsin Senate Approves Domestic Partnerships". Box Turtle Bulletin. สืบค้นเมื่อ November 4, 2009.
  108. "Nevada legalizing domestic partnerships". CNN. May 31, 2009. สืบค้นเมื่อ November 4, 2009.
  109. "New Jersey Public Law 2006, c.103" (PDF). New Jersey Legislature. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-25. สืบค้นเมื่อ July 31, 2007.
  110. Illinois House passes civil unions legislation in historic vote
  111. Huffington Post: Mark Niesse, "Hawaii Governor Neil Abercrombie Signs Same-Sex Civil Unions Into Law," February 23, 2011, accessed April 13, 2011
  112. Votes for SB13-011
  113. Wolf, Richard (June 26, 2015). "Supreme Court strikes down bans on same-sex marriage". USA Today. สืบค้นเมื่อ June 26, 2015.
  114. 114.0 114.1 114.2 114.3 114.4 Liptak, Adam (26 June 2015). "Gay Marriage Backers Win Supreme Court Victory". nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 26 June 2015.
  115. 115.0 115.1 115.2 "In 60 days, gays will be allowed to s". CNN. July 23, 2011.
  116. http://www.bbc.com/news/world-us-canada-40729996
  117. Geidner, Chris (23 April 2012). "Transgender Breakthrough". Metro Weekly. สืบค้นเมื่อ 4 August 2012.
  118. HHS: Health Reform Law Prohibits Antitransgender Bias in Care
  119. Tatectate, Curtis (2015-07-16). "EEOC: Federal law bans workplace bias against gays, lesbians, bisexuals | Miami Herald Miami Herald". Miamiherald.com. สืบค้นเมื่อ 2016-05-25.
  120. "Belize Supreme Court Overturns Anti-Gay Law".
  121. "Chapter 4 of the Laws of Belize - THE CONSTITUTION OF BELIZE PART II: Protection of Fundamental Rights and Freedoms". Belmopan, Belize: The Government of Belize. 1981. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2013. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  122. Littauer, Dan (10 August 2016). "Love wins! Belize anti-gay law struck down". Scotland: KaleidoScot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2019. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  123. "Supreme Court declares Section 53 unconstitutional". Port of Spain, Trinidad: Daily Express. Cana News. 10 August 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2017. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  124. "Transgender Culture in Belize". unibam.org. United Belize Advocacy Movement (UNIBAM). สืบค้นเมื่อ 16 October 2016.
  125. "CCSS aprobó extender seguro de salud a parejas gais".
  126. "Costa Rica Government To Prioritize Bill Legalizing Gay Civil Unions". ticotimes.net. 19 Mar 2015.
  127. "Costa Rica". travel.state.gov.
  128. "Transgender Population in Costa Rica Will be Able to Choose the Name Shown in Their ID". Costa Rica Star News. 14 May 2018. สืบค้นเมื่อ 15 May 2018.
  129. 129.0 129.1 Press, Associated (17 April 2015). "El Salvador approves measures banning same-sex marriage, gay couple adoption".
  130. 130.0 130.1 Asociación Salvadoreña de Derechos Humanos “Entre Amigos” (2010). HUMAN RIGHTS SITUATION OF LESBIAN, GAY, BISEXUAL AND TRANSGENDER PERSONS IN EL SALVADOR: Shadow Report submitted to the United Nations Human Rights Committee (PDF). San Salvador. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-08-05. สืบค้นเมื่อ 2018-07-11.
  131. md-AE, teleSUR /. "Gender Hate Crimes in El Salvador to Receive Tougher Sentencing".
  132. "Homicidios a comunidad LGTBI tendrán penas de hasta 60 años". lapagina.com.sv. 2015-09-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-13. สืบค้นเมื่อ 2018-07-11.
  133. "El Salvador: la Corte Suprema reconoce la identidad de género de una persona trans". NODAL (ภาษาสเปนแบบยุโรป). 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 16 May 2017.
  134. Press, SONIA PEREZ D., Associated (31 July 2016). "In socially conservative Guatemala, transgender people sees gains".
  135. 135.0 135.1 CONSTITUCION POLITICA DE LA REPUBLICA DE HONDURAS DE 1982 (สเปน)
  136. 136.0 136.1 "Honduras Bans Gay Marriage & Adoption". Global Gayz. 2005-03-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-03. สืบค้นเมื่อ 2009-08-12.
  137. ""DECRETO 144-83" CÓDIGO PENAL" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-09. สืบค้นเมื่อ 2018-07-11.
  138. "Ley No. 16 Que regula el derecho de admisión en los establecimientos públicos y Dicta medidas para evitar la discriminación" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 4 June 2012. สืบค้นเมื่อ 16 May 2017.
  139. Diario, El Nuevo. "Buscan que orientación sexual e identidad género sean reconocidos en Panamá". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 2018-07-11.
  140. "Transexuales panameños tramitan cédulas de mujer".
  141. "Por primera vez, una transexual logra en Panamá cambiar su nombre en la cédula". El Espectador (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 1 August 2016.
  142. Press, Associated (10 September 2016). "Aruba Parliament approves civil unions for same-sex couples".
  143. 143.0 143.1 143.2 "Charter for the Kingdom of the Netherlands" (ภาษาดัตช์). Government of the Netherlands. 10 October 2010. สืบค้นเมื่อ 29 December 2010.
  144. The Virgin Islands Constitution Order 2007, sections 9 and 26.
  145. Waaldijk, Kees. "Major legal consequences of marriage, cohabitation and registered partnership for different-sex and same-sex partners in the Netherlands" (PDF). INED. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 27 October 2013.
  146. "Gay Marriage Goes Dutch". CBS News. Associated Press. 1 April 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 January 2016. สืบค้นเมื่อ 21 January 2010.
  147. "Burgerlijk Wetboek, Boek 1 (Civil Code, Book 1)". Government of the Netherlands. สืบค้นเมื่อ 19 April 2013.
  148. Veiligheid, Ministerie van Justitie en. "Prohibition of discrimination". www.government.nl.
  149. "The Netherlands Passes Landmark Gender Identity Law".
  150. "The Cayman Islands Constitution Order 2009" (PDF). Cayman Constitution. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 February 2012. สืบค้นเมื่อ 15 September 2012.
  151. (สเปน) Gaceta Oficial No. 29 Extraordinaria de 17 de junio de 2014 เก็บถาวร 2014-06-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  152. (สเปน) Entra en vigor nuevo Código de Trabajo
  153. "Cuba approves sex change operations", Reuters, 6 June 2008
  154. Constitución Política de la República Dominicana, proclamada el 26 de enero 2010, Publicada en la Gaceta Oficial No. 10561, del 26 de enero de 2010. เก็บถาวร 2012-11-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (สเปน)
  155. "Dominican Republic reiterates ban on gay cops and soldiers". gaystarnews.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-07. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  156. "The Montserrat Constitution Order 2010". Government of Montserrat. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 June 2014. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
  157. "Constitution of Montserrat Part I: Fundamental Rights & Freedoms". Government of Montserrat. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 October 2016. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
  158. "Puerto Rico to amend laws after US ruling on gay marriage". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  159. 159.0 159.1 "Beginning today, transgender individuals can join the US military". ABC News. 1 January 2018.
  160. Loutoo, Jada (12 April 2018). "Historic ruling on Sexual Offences Act". Port of Spain, Trinidad: Trinidad and Tobago Newsday. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2018. สืบค้นเมื่อ 12 April 2018.
  161. "The Turks and Caicos Islands Constitution Order 2011" (PDF). Government of the Turks and Caicos Islands. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-07-21. สืบค้นเมื่อ 2014-07-15.
  162. "Ley 1.004". Buenos Aires Ciudad (ภาษาสเปน).
  163. "Ley 3.736". Legislatura de la Provincia de Río Negro (ภาษาสเปน).
  164. "Ley 26.994 Código Civil y Comercial de la Nación". InfoLEG (ภาษาสเปน).
  165. "Ley 26.618". InfoLEG (ภาษาสเปน).
  166. Smink, Veronica (28 February 2009). "Argentina: abren paso a gays en FF.AA". BBC Mundo (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 27 July 2017.
  167. "Ley 26.791". InfoLEG (ภาษาสเปน).
  168. Ruchansky, Emilio (10 May 2012). "Una norma de vanguardia". Página/12 (ภาษาสเปน).
  169. "Constitution of Bolivia" (PDF). presidencia.gob.bo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-24. สืบค้นเมื่อ 2021-10-02.
  170. "Acuerdo de Vida en Familia busca legalizar la unión de parejas TLGB - Diario Pagina Siete". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-10. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  171. "Constitución Política del Estado (CPE) (7-Febrero-2009)" (ภาษาสเปน). Infoleyes. สืบค้นเมื่อ 15 September 2012.
  172. "Travel Advisor". travel.state.gov.
  173. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  174. "Fuerzas Armadas de Bolivia abren sus puertas a los gays". confluenciafm.com.ar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-02. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  175. "Militares gay, entre la discriminación y la clandestinidad en FFAA de Bolivia" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2 September 2016.
  176. lgc-DB, teleSUR /. "Bolivia Approves Progressive Law Recognizing Transgender Rights".
  177. http://www.cne.org.bo/proces_electoral/RefConstitucion2009/documentos/LibroConsvigenteProyectoCPE.pdf เก็บถาวร 2011-09-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Constitución Política del Estado
  178. "'Soy el primero en Latinoamérica en cambiar de nombre y sexo' - La Razón". www.la-razon.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  179. "En Bolivia, seis transexuales lograron cambiar de identidad - Diario Pagina Siete". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-13. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  180. "Brazilian go-ahead for gay unions". 5 March 2004 – โดยทาง news.bbc.co.uk.
  181. "Notícias STF :: STF - Supremo Tribunal Federal". www.stf.jus.br.
  182. "CNJ obriga cartórios de todo o país a celebrar casamento entre gays".
  183. "CNJ obriga cartórios a celebrar casamento entre homossexuais - Brasil - Estadão".
  184. "Casal homossexual pode adotar criança, decide STJ". www.athosgls.com.br. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  185. Patricia Silva Gadelha (March 2006). "A prática da pederastia é crime militar". Jus Navigandi. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-05-16. สืบค้นเมื่อ 10 September 2013. (โปรตุเกส)
  186. Iara Bernardi (December 2010). "Projeto de Lei 122/2006". สืบค้นเมื่อ 31 December 2010. (โปรตุเกส)
  187. Homosexuality is not deviant - Federal Council of Psychologists of Brazil เก็บถาวร 2012-07-30 ที่ archive.today (โปรตุเกส)
  188. Psychiatrist Jairo Bouer talks about the "collateral effects" of "gay cure" bill เก็บถาวร 2014-01-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (โปรตุเกส)
  189. Expresso da Notícia (13 January 2006). "Justiça autoriza alteração no registro de transexual que trocou de sexo" (ภาษาโปรตุเกส). Jus Brasil. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  190. Expresso da Notícia (25 December 2005). "Justica autoriza mudança de sexo em documentos" (ภาษาโปรตุเกส). Jus Brasil. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  191. Changing name and sex in documentation – Brazilian Association of Trans Men (โปรตุเกส)
  192. "LEY-20830 21-ABR-2015 MINISTERIO SECRETARIA GENERAL DE GOBIERNO - Ley Chile - Biblioteca del Congreso Nacional". 21 April 2015.
  193. Ramos, Ángel. "El proyecto de ley de matrimonio igualitario llega al Parlamento de Chile". cascaraamarga.es. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-06. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  194. Ramos, Ángel. "El proyecto de ley de matrimonio igualitario llega al Parlamento de Chile". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-06. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  195. Claudio Ortiz Lazo. "Reflexiones en torno a la homosexualidad y fuerzas armadas". Revista Fuerzas Armadas y Sociedad. สืบค้นเมื่อ 21 April 2012. (สเปน)
  196. "Chile Congress passes anti-discrimination law". Jurist.org. 5 April 2012. สืบค้นเมื่อ 29 June 2012.
  197. Comunicaciones, Compañia Chilena de. "Justicia autorizó primer cambio de sexo sin necesidad de operación previa".
  198. Chile., BioBioChile - La Red de Prensa Más Grande de (21 January 2014). "Senado aprueba idea de legislar proyecto de ley de identidad de género".
  199. "Consulta de la Norma:". www.alcaldiabogota.gov.co.
  200. Semana. "Resultados de la búsqueda: corte constitucional permite matrimonio igualitario". Resultados de la búsqueda corte constitucional permite matrimonio igualitario. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-19. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  201. "Histórico fallo: Corte aprueba adopción de niña a compañera lesbiana de su madre biológica".(สเปน)
  202. Associated Press (5 November 2015). "Colombia High Court Rules for Adoptions by Same-Sex Couples". NBC News.
  203. "Este miércoles el presidente Santos sanciona ley antidiscriminación". ElTiempo.com. 29 November 2011. สืบค้นเมื่อ 29 November 2011.(สเปน)
  204. ""Cambio de género en la cédula será ágil y simple": Minjusticia - ELESPECTADOR.COM". 6 June 2015.
  205. "Constitution of Ecuador" (PDF). ecuadorencifras.gob.ec.
  206. "LEY REFORMATORIA AL CÓDIGO CIVIL" (PDF).
  207. (สเปน) http://pdba.georgetown.edu/Constitutions/Ecuador/ecuador08.html
  208. "Ecuador". travel.state.gov.
  209. OAS (1 August 2009). "OAS - Organization of American States: Democracy for peace, security, and development". www.oas.org.
  210. Constitution of the Republic of Ecuador, Political Database of the Americas, 31 January 2011
  211. "Official Registrar" (PDF). asambleanacional.gob.ec.
  212. ns-DB-gp, teleSUR /. "Ecuadorean Lawmakers Approve New Gender Identity Law".
  213. "The Bay Area Reporter Online - Trans activist files
    case against Ecuador"
    .
  214. 214.0 214.1 "Executive Council Papers". www.fig.gov.fk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-05. สืบค้นเมื่อ 2018-11-06.
  215. "The Falkland Islands Constitution Order 2008" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-11-12. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  216. "Homosexuals can adopt, be foster parents, guardians – CPA Director". 16 December 2015.
  217. ""Army won't discriminate against its gay soldiers", The Daily Herald, 21 November 2012". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-24. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  218. "Constitución del Paraguay, 1992". www.oas.org.
  219. "Paraguay – Constitution". สืบค้นเมื่อ 2010-10-15.
  220. "Presentan nuevo proyecto de Ley contra discriminación - Paraguay.com". www.paraguay.com.
  221. "Perú: Alberto de Belaunde y Carlos Bruce presentaron proyecto de ley sobre unión civil". Sin Etiquetas (ภาษาสเปน). 1 December 2016. สืบค้นเมื่อ 7 January 2017.
  222. "El Tribunal Constitucional de Perú considera que no se puede excluir de la Polícia o el Ejército a las personas homosexuales". Dos Manzanas. 13 December 2009. สืบค้นเมื่อ 30 September 2010.
  223. "Código Penal peruano 2018 actualizado". Legis.pe (ภาษาสเปนแบบยุโรป). 3 June 2018. สืบค้นเมื่อ 24 September 2018.
  224. "Peruvian Congress Votes to Remove LGBT from Hate Crime Legislation". The Perchy Bird. 6 May 2017. สืบค้นเมื่อ 10 May 2017.
  225. (สเปน)"Peruvian Penal Code" (PDF). สืบค้นเมื่อ 8 October 2015.
  226. "Peru lags behind other Latin American countries on LGBT rights". 18 September 2014.
  227. "Finalmente se aprobó la ley contra crímenes de odio y discriminación por orientación sexual". Útero.Pe (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-15. สืบค้นเมื่อ 7 January 2017.
  228. "TC reconoce derecho de transexuales a pedir cambio de nombre y sexo en DNI". larepublica.pe (ภาษาสเปน). 8 November 2016.
  229. "Sex reassignment surgery in Peru". Streets of Lima. สืบค้นเมื่อ 15 October 2015.
  230. 230.0 230.1 "Local laws and customs - South Georgia and South Sandwich Islands (British Overseas Territory) travel advice - GOV.UK". www.gov.uk.
  231. "Wetboek van Strafrecht 2015" (PDF) (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 1 January 2017.
  232. "Transgender wins case for sex change recognition". thedailyherald.sx. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-13. สืบค้นเมื่อ 13 January 2017.
  233. "Suriname appeals transgender verdict". www.thedailyherald.sx (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-01. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  234. "Ley Nº 18.246 UNIÓN CONCUBINARIA".
  235. "Document" (PDF). archivo.presidencia.gub.uy.
  236. Reuters (9 September 2009). "Lawmakers in Uruguay Vote to Allow Gay Couples to Adopt". New York Times. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  237. Rachel Weiner (15 May 2009). "Uruguay Lifts Ban On Gays In The Military". Huffington Post. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  238. Congress of Uruguay (18 August 2004). "Ley N° 17.817". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 December 2009. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010. (สเปน)
  239. Free Speech Radio News (11 December 2009). "Uruguay passes bill to allow citizens to choose gender identity". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 September 2012. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  240. "Venezuela activists petition for same-sex marriage". 31 January 2014. สืบค้นเมื่อ 1 February 2014.
  241. "Kazakhstan Says No to Gays in Military". Eurasianet. 13 June 2013. สืบค้นเมื่อ 1 July 2012.
  242. 242.0 242.1 242.2 242.3 Masci, David (February 11, 2014). "Gay rights in Russia and the former Soviet republics". Pew Research Center. สืบค้นเมื่อ December 11, 2016.
  243. "Kyrgyz Voters Back Amendments On Same-Sex Marriage, Presidential Power". Radio Free Europe/Radio Liberty. December 11, 2016. สืบค้นเมื่อ July 30, 2017.
  244. "Employment (Equality) Ordinance 2013" (PDF). sbaadministration.org.
  245. "Referendum in Armenia brings constitutional reforms - ILGA-Europe". www.ilga-europe.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  246. "Armenia Central Electoral Commission announces constitutional referendum final results". news.am.
  247. "Armenia: Gays live with threats of violence, abuse". United Nations High Commissioner for Refugees. 30 March 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 November 2012. สืบค้นเมื่อ 8 June 2012.
  248. 248.0 248.1 248.2 248.3 248.4 248.5 248.6 "Map shows how Europe forces trans people to be sterilized". Gay Star News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-03. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  249. "ILGA-Europe" (PDF). ilga-europe.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-05-30. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  250. "LAW OF GEORGIA ON THE ELIMINATION OF All FORMS OF DISCRIMINATION". matsne.gov.ge.
  251. 251.0 251.1 251.2 251.3 251.4 251.5 "Northern Cyprus Decriminalizes Homosexuality and Protects LGBTs Against Hate Speech". kaosgl.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-14. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  252. 252.0 252.1 252.2 252.3 252.4 252.5 Kuzey Kıbrıs’ın “Eşcinsellik Suçu” Yasası Tarihe Karıştı! เก็บถาวร 2014-04-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ตุรกี)
  253. "Russian Gay History". community.middlebury.edu.
  254. 254.0 254.1 254.2 254.3 "Turkey's main opposition proposed labor bill for LGBT people". www.kaosgl.com. 2 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2015. สืบค้นเมื่อ 23 July 2017.
  255. "CBC News - Film - Iran's gay plan". Cbc.ca. 26 August 2008. สืบค้นเมื่อ 5 September 2010.
  256. "Iraq: Sexual Orientation, Human Rights and the Law". www.glapn.org.
  257. Erez Levon (January 2008). National Discord: Language, Sexuality and the Politics of Belonging in Israel. p. 45-46. This amendment to the penal code entailed a de jure decriminalization of sodomy since, in 1963, the Israeli Supreme Court had already issued a de facto decriminalization, ruling that the anti-sodomy law (which dated back to the British Mandate of Palestine; Mandatory Criminal Ordinance of 1936) could not be prosecuted (Yosef Ben-Ami vs. The Attorney General of Israel, 224/63).[ลิงก์เสีย]
  258. "LGBTQ Timeline" (PDF). ua.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-06-13. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  259. Israel's Policy Opposing LGBT Adoption, Haaretz, July 17, 2017.
  260. "Law prohibiting discrimination in products, services, and entry to businesses". Israeli Economy Ministry. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-27. สืบค้นเมื่อ 2013-05-09. (ฮีบรู)
  261. "El Al vs. Yonatan Danilovich". Supreme Court of Israel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-29. สืบค้นเมื่อ 2013-05-09. (ฮีบรู)
  262. HOMOSEXUALITY, HUMAN DIGNITY & HALAKHAH: A COMBINED RESPONSUM FOR THE COMMITTEE ON JEWISH LAW AND STANDARDS by RABBIS ELLIOT N. DORFF, DANIEL S. NEVINS & AVRAM I. REISNER
  263. "Israel recognizes sex changes without operation". Supreme Court of Israel. สืบค้นเมื่อ 2015-01-23.
  264. 264.0 264.1 Aeyal Gross, Human rights are part of the fight for gay rights เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Haaretz (via Aguda website), December 17, 2013
  265. Hila Weissberg, Homophobia in the workplace? Fear of transgender people is even worse, Haaretz, August 29, 2014
  266. Aeyal Gross, Israel should drop binary view of gender, Haaretz, 16.09.13
  267. "محكمة التمييز توافق على تغيير جنس مواطن اردني من ذكر الى انثى - دنيا الوطن" [The Court of Cassation agrees to change the gender of a Jordanian citizen from male to female]. alwatanvoice.com (ภาษาอาหรับ). 2014-10-12.
  268. "Kuwait Law". ilga.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-19. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  269. "Lebanon Just Did a Whole Lot More Than Legalize Being Gay". muftah.org. 8 March 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-07. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  270. 270.0 270.1 "Here are the 10 countries where homosexuality may be punished by death". The Washington Post. 16 June 2016. สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.
  271. "Syria - GlobalGayz News Archive". archive.globalgayz.com.
  272. "Sex-change surgery is now legal in the UAE". stepfeed.com. 6 September 2016.
  273. "Sex reassignment surgery is now legal in the United Arab Emirates". gaystarnews.com. 8 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-07. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  274. New UAE law does not legalise sex change
  275. "Bangladesh government makes Hijra an official gender option - Wikinews, the free news source". en.wikinews.org. November 11, 2013.
  276. "Bangladesh government makes Hijra an official gender option - Wikinews, the free news source". en.wikinews.org. November 11, 2013.
  277. "India court legalises gay sex in landmark ruling". BBC News. 6 September 2018.
  278. 278.0 278.1 "Lesbian marriages, born of a legal loophole, stir debate in India". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-03. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  279. France-Presse, Agence (11 January 2019). "'Not acceptable': Indian army backs gay sex ban despite decriminalisation". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 30 March 2019.
  280. Ghosh, Deepshikha (15 April 2014). "Transgenders are the 'third gender', rules Supreme Court". NDTV.
  281. Michael K. Lavers (19 September 2015). "New Nepal constitution includes LGBT-specific protections". Washington blade. สืบค้นเมื่อ 23 July 2017.
  282. SC orders equal benefits for transvestites เก็บถาวร 18 กรกฎาคม 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  283. "The battle against homophobia in Sri Lanka" (PDF). Supreme Court of Sri Lanka. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 26 July 2021.
  284. "Road to reform". The Morning. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-23. สืบค้นเมื่อ 2019-06-10.
  285. "What's at Stake for LGBT People as Sri Lanka Reforms Its Constitution". www.worldpoliticsreview.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  286. Rodrigo, Suren. "Draft Bill of Rights". www.peaceinsrilanka.lk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-20. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  287. "IIssuance of gender recognition certification to enable transgender persons to change personal documentation". hrcsl.lk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2017. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  288. "General circular No. 01-34/2016 Issuing of Gender Recognition Certificate for Transgender Community" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 October 2016. สืบค้นเมื่อ 17 August 2017.
  289. "Cap. 290 ADOPTION ORDINANCE". สืบค้นเมื่อ 30 June 2017.
  290. "Taiwan". glbtq.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-30. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  291. "同性伴侶跨區註記7月3日開放". Up Media. 21 July 2017.
  292. "Taiwan's top court rules in favour of same-sex marriage". The Guardian. 24 May 2017.
  293. "Gender reassignment rule to be changed - Taipei Times". www.taipeitimes.com.
  294. 294.00 294.01 294.02 294.03 294.04 294.05 294.06 294.07 294.08 294.09 State-sponsored Homophobia: A world survey of laws prohibiting same sex activity between consenting adults เก็บถาวร 2016-10-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน The International Lesbian, Gay, Bisexual, Trans and Intersex Association, authored by Lucas Paoli Itaborahy, May 2014
  295. Rough Guide to South East Asia: Third Edition. Rough Guides Ltd. August 2005. p. 74. ISBN 1843534371.
  296. "Sacking Sergeant SNF, Court: Homosex a Threat to Army". Detik. 16 November 2013. สืบค้นเมื่อ 16 November 2013.
  297. 297.0 297.1 Mosbergen, Dominique (12 October 2015). "Being LGBT In Southeast Asia: Stories Of Abuse, Survival And Tremendous Courage". Huffington Post (ภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย). สืบค้นเมื่อ 11 October 2018.
  298. 298.0 298.1 "Philippines: Congress Approves Anti-Discrimination Bill". Iglhrc.org. 24 January 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-24. สืบค้นเมื่อ 5 September 2010.
  299. Historical Dictionary of the Lesbian and Gay Liberation Movements
  300. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-11. สืบค้นเมื่อ 2016-01-03.
  301. "Adoption in the Philippines". Intercountry Adoption. สืบค้นเมื่อ 15 October 2015.
  302. "Pemberton guilty of homicide in Jennifer Laude case". Rappler. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  303. PNA, PNA. "Passage of Cebu's anti-discrimination law lauded". Local News. Sun Star Publishing, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-21. สืบค้นเมื่อ 23 October 2012.
  304. http://newsinfo.inquirer.net/324189/davao-council-bans-discrimination-vs-gays-minority-differently-abled
  305. "Gay Filipinos and Rainbow - INQUIRER.net, Philippine News for Filipinos". Lifestyle.inquirer.net. 21 November 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2009. สืบค้นเมื่อ 5 September 2010.
  306. "Pemberton guilty of homicide in Laude case; sentenced to 12 years". Philippine Daily Inquirer. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  307. "Same-sex marriage may come true under Thai junta - Prachatai English". www.prachatai.com.
  308. Thailand Could Actually Beat Taiwan to Legalizing Same-Sex Unions and Benefits
  309. "Thailand 'no paradise for transsexuals': A transgender couple's fight for their rights". 10 December 2015.
  310. "Proposed law would allow trans Thais to legally change gender - Coconuts Bangkok". 26 July 2017.
  311. LAW On Marriage and Family
  312. Perspective: what has the EU done for LGBT rights? เก็บถาวร 2010-05-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Café Babel, 17 May 2010
  313. What is the current legal situation in the EU? เก็บถาวร 2015-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ILGA Europe
  314. Gesamte Rechtsvorschrift für Eingetragene Partnerschaft-Gesetz (เยอรมัน)
  315. "Unterscheidung zwischen Ehe und eingetragener Partnerschaft verletzt Diskriminierungsverbot". Constitutional Court of Austria (ภาษาเยอรมัน). 5 December 2017. สืบค้นเมื่อ 5 December 2017.
  316. "Bundesgesetz, mit dem das Allgemeine Bürgerliche Gesetzbuch und das Bundesgesetz über die eingetragene Partnerschaft geändert wird" (PDF). parlament.gv.at (ภาษาเยอรมัน).
  317. "Entschließungsantrag betreffend der Aufhebung des Adoptionsverbots für Homosexuelle" (PDF). parlament.gv.at.
  318. "§ 144(2) ABGB (General Civil Code)". www.ris.bka.gv.at (ภาษาเยอรมัน).
  319. Zakon o životnom partnerstvu osoba istog spola (โครเอเชีย)
  320. "Ustav Republike Hrvatske" (PDF). Ustavni sud Republike Hrvatske. 15 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 December 2015. สืบค้นเมื่อ 16 February 2015. (โครเอเชีย)
  321. "Zakon o suzbijanju diskriminacije". Narodne-novine.nn.hr. 21 July 2008. สืบค้นเมื่อ 3 April 2014. (โครเอเชีย)
  322. "Pravilnik o načinu prikupljanja medicinske dokumentacije te utvrđivanja uvjeta i pretpostavki za promjenu spola i drugom rodnom identitetu". Narodne-novine.nn.hr. 15 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-03. สืบค้นเมื่อ 15 November 2014. (โครเอเชีย)
  323. 115/2006 Sb. o registrovaném partnerství a o změně některých souvisejících zákonů เก็บถาวร 2019-05-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เช็ก)
  324. Ochranu manželství jako svazku muže a ženy vláda odmítla. Šanci mají sňatky pro všechny. 10. 7. 2018. ČT24.
  325. I registrovaní homosexuálové mohou adoptovat děti, rozhodl Ústavní soud. (in Czech) idnes.cz. Mladá fronta DNES. Published on 16 June 2016.
  326. Lazarová, Daniela (25 June 2018). "Government backs same-sex marriage bill, but decisive battle looms in parliament". Czech Radio.
  327. 327.00 327.01 327.02 327.03 327.04 327.05 327.06 327.07 327.08 327.09 327.10 327.11 327.12 327.13 327.14 327.15 327.16 Trans Rights Europe Map, 2016 เก็บถาวร 2017-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  328. "glbtq >> social sciences >> Berlin" (PDF). glbtq.com.
  329. Gesetz über die Eingetragene Lebenspartnerschaft (เยอรมัน)
  330. 330.0 330.1 Connolly, Kate (30 June 2017) German Parliament votes to legalise same-sex marriage in The Guardian. Retrieved 30 June 2017
  331. "Antidiskriminierungsstelle - Publikationen - AGG in englischer Sprache". antidiskriminierungsstelle.de. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-11. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  332. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  333. Gesetz über die Änderung der Vornamen und die Feststellung der Geschlechtszugehörigkeit in besonderen Fällen เก็บถาวร 2017-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เยอรมัน)
  334. 2009. évi XXIX. törvény a bejegyzett élettársi kapcsolatról, az ezzel összefüggő, valamint az élettársi viszony igazolásának megkönnyítéséhez szükséges egyes törvények módosításáról (ฮังการี)
  335. T/5423 Magyarország Alaptörvényének 6. módosítása (ฮังการี)
  336. 336.0 336.1 "Melegházasságról szóló törvényjavaslat landolt a magyar parlamentben" (ภาษาฮังการี). Index.hu. 29 June 2015. สืบค้นเมื่อ 29 June 2015.
  337. "Fundamental Law of Hungary" (PDF). TASZ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-03-14. สืบค้นเมื่อ September 15, 2012.
  338. Gorondi, Pablo (18 April 2011). "Hungary passes new conservative constitution". Reading Eagle. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 April 2014. สืบค้นเมื่อ 15 September 2012.
  339. "Gesetz über die eingetragene Partnerschaft gleichgeschlechtlicher Paare (Partnerschaftsgesetz; PartG)" (PDF). gesetze.li (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  340. http://www.llv.li/#/1611/adoption
  341. "Związki partnerskie - nie w tej kadencji" (ภาษาโปแลนด์). polityka.pl. 26 May 2015. สืบค้นเมื่อ 28 May 2015.
  342. "Możliwość instytucjonalizacji związku osób tej samej płci w świetle art. 18 Konstytucji RP". Obserwator Konstytucyjny. สืบค้นเมื่อ 16 November 2016.
  343. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/poland.html
  344. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/romania.html
  345. "Disputed revision to constitution sails through parliament". The Slovak Spectator. สืบค้นเมื่อ 4 June 2014.
  346. https://adoption.com/forums/thread/316200/adopting-in-slovakia/
  347. "Homophobia and Discrimination on Grounds of Sexual Orientation and Gender Identity in the EU Member States Part II: The Social Situation" (PDF). fra.europa.eu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-12-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  348. Petit Press a.s. "Law change criminalises homophobia". spectator.sme.sk.
  349. "Zakon o registraciji istospolne partnerske skupnosti". uradni-list.si (ภาษาสโลวีเนีย).
  350. "Zakon o partnerski zvezi". uradni-list.si (ภาษาสโลวีเนีย).
  351. "First Adoption by Gay Partner of Child's Parent". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-08. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  352. Weber, Nana (25 April 2013). "Sprememba spola v Sloveniji". Pravna praksa (ภาษาสโลวีเนีย). GV Založba (16–17). ISSN 0352-0730.
  353. The Homosexuality of Men and Women By Magnus Hirschfeld Page 947-948
  354. "Homosexuals a step closer to equal rights". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-12. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  355. "Zurich grants gay couples more rights". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-12. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  356. 356.0 356.1 Le pacs gagne du terrain เก็บถาวร 2015-09-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ฝรั่งเศส)
  357. "Bundesgesetz über die eingetragene Partnerschaft gleichgeschlechtlicher Paare". admin.ch (ภาษาเยอรมัน).
  358. "13.468 – Parlamentarische Initiative - Ehe für alle". parlament.ch (ภาษาเยอรมัน).
  359. https://www.admin.ch/gov/en/start/documentation/media-releases.msg-id-57063.html
  360. "Avis de droit OFEC: Transsexualisme" (PDF). Federal Department of Justice and Police (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 9 May 2013.
  361. "Referendum in Armenia brings constitutional reforms". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  362. Armenia Central Electoral Commission announces constitutional referendum final results
  363. [1]
  364. "Armenia: Gays live with threats of violence, abuse". United Nations High Commissioner for Refugees. 30 March 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-20. สืบค้นเมื่อ 8 June 2012.
  365. "ไฟล์:Lgbt azerbaijan.jpg". wikimedia.org.
  366. Prof. Dr. Axel Tschentscher, LL-M. "Belarus - Constitution". Servat.unibe.ch. สืบค้นเมื่อ 2014-01-05.
  367. "Belarus: Attitude towards homosexuals and lesbians in Belarus; state protection available to non-heterosexuals in Belarus with special attention to Minsk (2000-2005)". United Nations High Commissioner for Refugees. 17 January 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-20. สืบค้นเมื่อ 11 August 2012.
  368. 368.0 368.1 สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศใน Ukraine
  369. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-12. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  370. "Govt Offers Setting Constitutional Bar to Same-sex Marriage". Civil.ge. สืบค้นเมื่อ 3 April 2014.
  371. "Georgia to Consider a Ban on Same-sex Marriage". Eurasianet.org. สืบค้นเมื่อ 3 April 2014.
  372. "სსიპ "საქართველოს საკანონმდებლო მაცნე"". სსიპ ”საქართველოს საკანონმდებლო მაცნე”.
  373. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-31. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  374. "The Constitution of Moldova" (PDF). The Government of Moldova. สืบค้นเมื่อ 11 March 2015.
  375. "Russian Gay History". middlebury.edu.
  376. "Campaign started to declare gay marriage unconstitutional". RT. สืบค้นเมื่อ 3 April 2014.
  377. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-07. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  378. "В Приднестровье, как и в Молдове защитят права геев и лесбиянок". Новости Приднестровья:: ИА «Тирас». คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-29. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  379. Legal Report: Ukraine, COWI (2010)
  380. "Ukraine Intercountry Adoption Information". travel.state.gov. 7 March 2019.
  381. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-10. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  382. http://www.ukrinform.net/rubric-politics/1912891-ukraines-parliament-passes-anti-discrimination-law.html
  383. https://www.retsinformation.dk/Forms/R0710.aspx?id=142282
  384. http://cphpost.dk/news/national/gay-marriage-legalised เก็บถาวร 2013-10-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน The Copenhagen Post, 7 June 2012: Gay marriage legalised] Retrieved 2012-09-19
  385. Homoseksuelle fik ja til ægteskab - Jyllands-Posten.
  386. Lov om ændring af lov om registreret partnerskab, lov om en børnefamilieydelse og lov om børnetilskud og forskudsvis udbetaling af børnebidrag (เดนมาร์ก)
  387. Retsinformation.dk Børneloven (เดนมาร์ก)
  388. "MSN New Zealand - Latest News, Weather, Entertainment, Business, Sport, Technology". msn.co.nz. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-28. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  389. "Kooseluseadus". Riigikogu. 9 October 2014. (เอสโตเนีย)
  390. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-31. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  391. Faroe Islands Say Yes to Same-Sex Marriage
  392. "Gerðabók" (ภาษาแฟโร). Løgting. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-03. สืบค้นเมื่อ 2 June 2017.
  393. "Island Chain Votes To Ban Discrimination Against Gays". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-03. สืบค้นเมื่อ 2007-01-03.
  394. "§266b". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-27. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  395. "Holdningsskred i synet på homoseksuelle på Færøerne". Information.
  396. Lag om registrerat partnerskap เก็บถาวร 2019-05-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (สวีเดน)
  397. "Finland president signs gay marriage law – couples will have to wait to get married until 2017". Gay Star News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  398. Ihmisoikeudet kuuluvat myös transsukupuolisille เก็บถาวร 2012-06-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ฟินแลนด์)
  399. Lög um breytingu á lagaákvæðum er varða réttarstöðu samkynhneigðra (sambúð, ættleiðingar, tæknifrjóvgun) (ไอซ์แลนด์)
  400. http://www.althingi.is/altext/stjt/2010.065.html
  401. "Iceland parliament votes for gay marriage". IceNews. June 11, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-28. สืบค้นเมื่อ September 12, 2012.
  402. "New gay marriage law in Iceland comes into force". Icenews.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-30. สืบค้นเมื่อ 14 August 2010.
  403. "Adopt Family: What Every Child Deserves". Adopt.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-03. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  404. Alþingi Barnalög (ไอซ์แลนด์)
  405. "Iceland adopts a new comprehensive law on trans issues". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-27. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  406. "President Signs Anti-Gay Constitutional Amendment". UK Gay News. December 21, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-05. สืบค้นเมื่อ 2009-08-12.
  407. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/latvia.html
  408. Cik viegli pārvērsties no Ievas par Ādamu? (ลัตเวีย)
  409. http://www.lgl.lt/en/?p=17403
  410. "CONSTITUTION OF THE REPUBLIC OF LITHUANIA".
  411. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/lithuania.html
  412. Lietuvos Respublikos Civilinis kodeksas (Civil Code of the Republic of Lithuania (ลิทัวเนีย)
  413. https://lovdata.no/dokument/LTI/lov/2008-06-27-53
  414. "Norway Gay Marriage Bill Passes Final Hurdle". 365gay.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-31. สืบค้นเมื่อ 17 June 2008.
  415. "Norway passes law approving gay marriage". Latimes.com. 2008-06-17. สืบค้นเมื่อ 2015-05-29.
  416. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/norway.html
  417. Lovdata Barnelova (นีน็อชก์)
  418. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-09. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  419. "Gays Win Marriage Rights". Sveriges Radio English. 1 April 2009.
  420. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/sweden.html
  421. (sv) Sveriges Riksdag Föräldrabalk
  422. Fia Sundevall & Alma Persson (2016) "LGBT in the Military: Policy Development in Sweden 1944–2014", Sexuality Research and Social Policy, June 2016, Volume 13, Issue 2, pp 119-129, http://link.springer.com/article/10.1007/s13178-015-0217-6/fulltext.html
  423. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  424. Criminal Code (Amendment) Ordinance 2000 (PDF)
  425. Criminal Code (consolidated)
  426. Civil Partnership (Armed Forces) Order 2005 (PDF)
  427. Overseas Marriage (Armed Forces) Order 2014 (PDF)
  428. Employment (Equality) Ordinance 2013 (PDF)
  429. Dan Littauer, Albania passes landmark gay hate crime laws เก็บถาวร 2018-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, gaystarnews.com, 5 May 2013
  430. Llei 4/2005, del 21 de febrer, qualificada de les unions estables de parella (กาตาลา)
  431. 431.0 431.1 Llei 34/2014, del 27 de novembre, qualificada de les unions civils i de modificació de la Llei qualificada del matrimoni, de 30 de juny de 1995 (กาตาลา)
  432. "Diari d'Andorra - Enllestida la llei d'unions civils amb el procés d'adopció dels matrimonis". diariandorra.ad. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-05. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  433. Demà entren en vigor lleis importants, com la d'unions civils o la 'regla d´or' (กาตาลา)
  434. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-10-08. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  435. "Article 46(1), Bulgaria – Constitution". สืบค้นเมื่อ 2009-10-04.
  436. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/bulgaria.html
  437. "Bulgarian Parliament approves with 93-23 vote (and 23 abstentions) amendments to the Protection from Discrimination Act to include protection against discrimination of trans people". The Sofia Globe. 25 March 2015.
  438. "Bulgarian Parliament Votes on Anti-Discrimination Law Amendments". Novinite.com. 25 March 2015.
  439. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-27. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  440. http://ihrp.law.utoronto.ca/utfl_file/count/media/IHRP%20Cyprus%20Report%20FINAL%202014.pdf
  441. "Cyprus: Penal code amended to protect against discrimination based on sexual orientation or gender identity". PinkNews. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  442. "CIVIL PARTNERSHIP ACT 2014" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-04-07. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  443. [2]
  444. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  445. "Calls for gender recognition in Gibraltar". PinkNews.
  446. Νόμος 4356/2015 Σύμφωνο συμβίωσης, άσκηση δικαιωμάτων, ποινικές και άλλες διατάξεις. lawspot.gr. 24 December 2015.
  447. http://avmag.gr/67077/ellada-efarmostike-i-dikastiki-apofasi-gia-lixiarchiki-metavoli-filou-chorischoris-to-proapetoumeno-chirourgikis-epemvasis/
  448. http://www.quirinale.it/qrnw/statico/attivita/attifirmati/sett_atti.asp?Atti=sett/2016_m05d16.htm
  449. http://www.gaypost.it/presidente-mattarella-firmato-la-legge-sulle-unioni-civili/
  450. In a particular case, the Court of Cassation has refused to rescind a lower judgment recognising a same-sex marriage performed abroad, but this was on procedural grounds only and did not determine the merits of the case [3] เก็บถาวร 2018-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  451. Cassazione: matrimonio valido per due donne di Avellino napoli.repubblica.it. 01 febbraio 2017.
  452. Atto Senato n. 15 (อิตาลี)
  453. Atto Senato n. 204 (อิตาลี)
  454. (อิตาลี) Atto Senato n. 393
  455. "Adozioni gay, la Corte d'Appello di Roma conferma: sì a due mamme". Corriere della Sera. (อิตาลี)
  456. "Cassazione, via libera alla stepchild adoption in casi particolari". Repubblica. (อิตาลี)
  457. https://www.thelocal.it/20170309/italy-recognizes-first-adoption-by-two-gay-men
  458. "Legge 14 Aprile 1982, n. 164 (GU n. 106 del 19/04/1982) Norme in Materia di Rettificazione di Attribuzione di Sesso". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-05-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09. (อิตาลี)
  459. "Court of Cassation judgment of 21 May 2015" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-01-09. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  460. "FAMILY LAW OF KOSOVO - Law Nr.2004/32". childhub.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-08. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  461. "Adoption Laws in Kosovo: Unmarried persons". State portal of the Republic of Kosovo. Constitution of Kosovo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-18. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  462. "Adoption in Kosovo (Report) - Page 6". OSCE Mission in Kosovo.
  463. "Constitution of Kosovo; discrimination".
  464. AN ACT to regulate civil unions and to provide for matters connected therewith or ancillary thereto
  465. "Gender Identity, Gender Expression and Sex Characteristics Bill". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-02. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  466. "THE CONSTITUTION OF MONTENEGRO and THE CONSTITUTIONAL LAW FOR THE IMPLEMENTATION OF THE CONSTITUTION OF MONTENEGRO ADOPTED ON 19 OCTOBER 2007" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2014-01-05.
  467. "Information on the rights of minority groups in Montenegro" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2014-01-05.
  468. Law no. 7/2001, from 11 May (specifically Article 1, no. 1). (โปรตุเกส)
  469. AR altera lei das uniões de facto เก็บถาวร 2015-10-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (โปรตุเกส)
  470. Law no. 9/2010, from 30th May.
  471. Lei 17/2016 de 20 de junho (โปรตุเกส)
  472. Lei que alarga a procriação medicamente assistida publicada em Diário da República เก็บถาวร 2019-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (โปรตุเกส)
  473. Todas as mulheres com acesso à PMA a 1 de Agosto (โปรตุเกส)
  474. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  475. Gessa, Daniele Guido (June 27, 2012). "San Marino axes medieval law to let gay couples live together". GayStarNews. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-02. สืบค้นเมื่อ September 10, 2012.
  476. San Marino. Unioni civili, presto sul tavolo tre bozze di legge เก็บถาวร 2016-10-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อิตาลี)
  477. San Marino. Unioni civili, presto sul tavolo tre bozze di legge เก็บถาวร 2016-10-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อิตาลี)
  478. First post-Mediaeval criminal code in the Principality of Serbia, named "Kaznitelni zakon" (Law of Penalties), adopted in 1860, punishes sexual intercourse "against the order of nature" between males with 6 months to 4 years imprisonment. V. Para # 206, p. 82 of the "Kaznitelni zakon 1860" in Slavo-Serbian orthography (PDF)
  479. "Constitution of Serbia". Serbian Government. สืบค้นเมื่อ 8 November 2006.
  480. http://www.parlament.gov.rs/akti/doneti-zakoni/doneti-zakoni.1033.html
  481. http://www.b92.net/info/vesti/index.php?yyyy=2012&mm=12&dd=24&nav_category=11&nav_id=671737
  482. 482.0 482.1 482.2 482.3 482.4 482.5 482.6 482.7 482.8 Galán, José Ignacio Pichardo. "Same-sex couples in Spain. Historical, contextual and symbolic factors" (PDF). Institut national d'études démographiques. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-07-23. สืบค้นเมื่อ December 30, 2012.
  483. "Ley 1/2001, de 6 de abril, por la que se regulan las uniones de hecho". Noticias Juridicas. สืบค้นเมื่อ April 18, 2015.
  484. "Llei 18/2001 de 19 de desembre, de parelles estables". Govern de les Illes Balears. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015. (กาตาลา)
  485. "LEY 4/2002, de 23 de mayo, de Parejas Estables" (PDF) (ภาษาสเปน). Agencia Estatal Boletín Oficial del Estado. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015.
  486. "DECRETO 117/2002, de 24 de octubre, por el que se crea el Registro de Uniones de Hecho en Castilla y León y se regula su funcionamiento" (PDF) (ภาษาสเปน). Junta de Castilla y León. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015.
  487. "Ley de Cantabria 1/2005, de 16 de mayo, de Parejas de Hecho de la Comunidad Autónoma de Cantabria" (ภาษาสเปน). Noticias Juridicas. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015.
  488. "Decreto 248/2007, de 20 de diciembre, por el que se crea y se regula el Registro de Parejas de Hecho de Galicia" (ภาษาสเปน). Noticias Juridicas. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015.
  489. "Decreto 30/2010, de 14 de mayo, por el que se crea el Registro de Parejas de Hecho de La Rioja" (ภาษาสเปน). El Gobierno de La Rioja. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-05. สืบค้นเมื่อ November 6, 2015.
  490. "Spain approves liberal gay marriage law". St. Petersburg Times. 2005-07-01. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
  491. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/spain.html
  492. (สเปน) Boletín Oficial del Estado Ley 14/2006, de 26 de mayo, sobre técnicas de reproducción humana asistida (see Article 7)
  493. Ley 3/2007, de 15 de marzo, reguladora de la rectificación registral de la mención relativa al sexo de las personas (สเปน)
  494. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-08. สืบค้นเมื่อ 2017-09-09.
  495. Gesetz zur Einführung des gesetzlichen Zusammenwohnens (เยอรมัน)
  496. "Belgium to follow Holland on gay marriage". RTÉ News. 29 November 2002.
  497. "Belgium legalizes gay marriage". UPI. 31 January 2003.
  498. "Belgium approves same-sex marriage". PlanetOut. 30 January 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-02-28. สืบค้นเมื่อ 2022-04-20.{{cite news}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  499. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/belgium.html
  500. (ฝรั่งเศส)(ดัตช์) Belgian Official Gazette Loi du 5 mai 2014 portant établissement de la filiation de la coparente, as amended by loi du 18 décembre 2014 modifiant le Code civil, le code de droit international privé, le Code consulaire, la loi du 5 mai 2014 portant établissement de la filiation de la coparente et la loi du 8 mai 2014 modifiant le Code civil en vue d’instaurer l’égalité de l’homme et de la femme dans le mode de transmission du nom à l’enfant et à l’adopté
  501. Loi du 25 juin 2017 réformant des régimes relatifs aux personnes transgenres en ce qui concerne la mention d’une modification de du sexe dans les actes de l’état civil et ses effets/Wet van 25 juni 2017 tot hervorming van regelingen inzake transgenders wat de vermelding van een aanpassing van de registratie van het geslacht in de akten van de burgerlijke stand en de gevolgen hiervan betreft (ฝรั่งเศส) (ดัตช์)
  502. Loi n° 99-944 du 15 novembre 1999 relative au pacte civil de solidarité (ฝรั่งเศส)
  503. Erlanger, Steven (18 May 2013). "Hollande Signs French Gay Marriage Law". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 23 July 2015.
  504. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/france.html
  505. [4]
  506. "Sexual Offences (Bailiwick of Guernsey) (Amendment) Law, 2011". guernseylegalresources.gg.
  507. "JURIST - Homosexual Offenses and Human Rights in Guernsey". jurist.org.
  508. http://www.gov.gg/CHttpHandler.ashx?id=98634&p=0
  509. http://www.gov.gg/CHttpHandler.ashx?id=98636&p=0
  510. "Union civile, Green, marriage, Liberate « Guernsey Press". guernseypress.com.
  511. "Guernsey votes to legalise same-sex marriage". Gay Times Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-24. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  512. "Guernsey law change allows same-sex couples to adopt". BBC News.
  513. 513.0 513.1 "The Prevention of Discrimination (Enabling Provisions) (Bailiwick of Guernsey) Law, 2004". Guernsey Legal Resources. สืบค้นเมื่อ 31 May 2014.
  514. "Legal Resources: Legal Resources Navigation List: Guernsey Law Reports 2007–08 GLR 161". guernseylegalresources.gg.
  515. "Civil Partnership and Certain Rights and Obligations of Cohabitants Act 2010". irishstatutebook.ie. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  516. Thirty-fourth Amendment of the Constitution (Marriage Equality) Bill 2015
  517. "Gay adoption law due before same-sex marriage referendum". The Irish Times. 21 January 2015.
  518. "FAQs". The Adoption Authority of Ireland. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-20. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  519. http://rainbow-europe.org/#8639/0/0
  520. http://www.irishtimes.com/news/ireland/irish-news/change-sought-to-anomaly-in-adoption-law-1.1848049
  521. Oireachtas Children and Family Relationships Act 2015
  522. "Employment Equality Act, 1998". Irishstatutebook.ie. 18 June 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-17. สืบค้นเมื่อ 11 July 2010.
  523. "Equal Status Act, 2000". Irishstatutebook.ie. 26 April 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2007. สืบค้นเมื่อ 11 July 2010.
  524. "Prohibition of Incitement To Hatred Act, 1989". irishstatutebook.ie.
  525. http://www.thejournal.ie/ireland-transgender-recognition-bill-2218956-Jul2015/
  526. "Civil Partnership Act 2011" (PDF). legislation.gov.im. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  527. "Same-sex Manx marriages can go ahead after Royal Assent". BBC. 19 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 July 2016. สืบค้นเมื่อ 19 July 2016.
  528. EMPLOYMENT ACT 2006
  529. "GENDER RECOGNITION ACT 2009" (PDF). legislation.gov.im. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-01-09. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  530. "Gender recognition bill to provide protection to Isle of Man trans residents". PinkNews.
  531. "Civil Partnership (Jersey) Law 2012". jerseylaw.je. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-08-30.
  532. Equal Marriage and Partnership Options Paper Report
  533. http://www.statesassembly.gov.je/AssemblyPropositions/2015/P.40-2015.pdf
  534. "GENDER RECOGNITION (JERSEY) LAW 2010" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  535. Loi du 9 juillet 2004 relative aux effets légaux de certains partenariats (ฝรั่งเศส)
  536. "Same-sex marriages from January 1". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-19. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  537. Same-Sex Marriage in Luxembourg from 1 January 2015
  538. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-09-16. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  539. Mémorial A n° 207 de 2006 เก็บถาวร 2016-09-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ฝรั่งเศส)
  540. "n°207 - Proposition de loi relative au Pacte de vie commune". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-23. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  541. Waaldijk, Kees. "Major legal consequences of marriage, cohabitation and registered partnership for different-sex and same-sex partners in the Netherlands" (PDF). INED. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  542. "Gay Marriage Goes Dutch". CBS News. Associated Press. 1 April 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 January 2016. สืบค้นเมื่อ 21 January 2010.
  543. ttp://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/netherlands.html
  544. (ดัตช์) Staatsblad Wet van 25 november 2013 tot wijziging van Boek 1 van het Burgerlijk Wetboek in verband met het juridisch ouderschap van de vrouwelijke partner van de moeder anders dan door adoptie
  545. https://www.government.nl/topics/discrimination/contents/prohibition-of-discrimination
  546. http://www.buzzfeed.com/lesterfeder/the-netherlands-passes-landmark-gender-identity-law
  547. "Civil Partnership Act 2004". legislation.gov.uk.
  548. "Same-sex marriage now legal as first couples wed". BBC News. 29 March 2014. สืบค้นเมื่อ 29 March 2014.
  549. "Same-sex marriage now legal as first couples wed". BBC News. 29 March 2014. สืบค้นเมื่อ 29 March 2014.
  550. Thomas, Ellen (20 September 2009). "New legislation sees gay Scottish couples win right to adopt children". The Herald. สืบค้นเมื่อ 23 September 2009.
  551. http://travel.state.gov/content/adoptionsabroad/en/country-information/learn-about-a-country/united-kingdom.html
  552. legislation.gov.uk Human Fertilisation and Embryology Act 2008: Cases in which woman to be other parent
  553. Criminal Justice and Immigration Act 2008 (c. 4)
  554. "Relationships Act 2003". Tasmanian Legislation. สืบค้นเมื่อ September 14, 2012.
  555. "South Australia gays get new rights by Tony Grew (7 December 2006)". pinknews.com.au. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-12-22. สืบค้นเมื่อ 2007-09-03.
  556. "Relationships Act 2008". (Vic)
  557. "Massive support for register". Star Observer. May 13, 2010. สืบค้นเมื่อ September 14, 2012.
  558. Agius, Kym (December 1, 2011). "Bligh asks ALP to support gay marriage". สืบค้นเมื่อ September 14, 2012.
  559. "Civil Unions Bill 2011". ACT Government. สืบค้นเมื่อ September 14, 2012.
  560. Chang, Charis (8 December 2017). "Same-sex marriage is now legal in Australia". news.com.au. สืบค้นเมื่อ 8 December 2017.
  561. "Australia Ends a Prohibition On Homosexuals in Military", New York Times, November 24, 1992
  562. 562.0 562.1 Sex Discrimination Amendment (Sexual Orientation, Gender Identity and Intersex Status) Bill 2013
  563. 563.0 563.1 Marriage equality Bill officially signed into law, GayNZ.com, Retrieved 19 April 2013
  564. Chand, Shalveen (26 February 2010). "Same sex law decriminalised". Fiji Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2011. สืบค้นเมื่อ 6 October 2011.
  565. Verheyen, Vincent. "Sexual orientation [LGBTQ+] and the draft of the new Solomon Islands Constitution". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-19. สืบค้นเมื่อ 3 March 2016.
  566. Nauru decriminalises homosexuality
  567. Crimes Act 2016
  568. "Palau decriminalises sex between men". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-14. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  569. "Sodomy Laws American Samoa". Sodomylaws.org. 28 March 2004. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-19. สืบค้นเมื่อ 21 December 2008.
  570. Sagapolutele, Fili. "gay marriage illegal in American Samoa". USNews. สืบค้นเมื่อ 10 July 2015.
  571. "Employment Relations Act 2012" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-07-06. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  572. Pitcairn Island: Same Sex Marriage and Civil Partnership Ordinance 2015
  573. "Laws - PITCAIRN". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-07. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  574. "The Pitcairn Constitution Order 2010" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-11-05. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
  575. "Labour and Employment Relations Act 2013" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-05-18. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
Kembali kehalaman sebelumnya