Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสุโขทัย
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง133,441 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (4)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสุโขทัย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุโขทัยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายไสว อินทรประชา

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุโขทัย, อำเภอศรีสำโรง, อำเภอกงไกรลาศ และอำเภอคีรีมาศ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีสัชนาลัย, อำเภอสวรรคโลก, อำเภอศรีนคร, อำเภอทุ่งเสลี่ยม และอำเภอบ้านด่านลานหอย
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสำโรงและอำเภอเมืองสุโขทัย (ยกเว้นตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอคีรีมาศ, อำเภอกงไกรลาศ และอำเภอเมืองสุโขทัย (เฉพาะตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านด่านลานหอย, อำเภอทุ่งเสลี่ยม และอำเภอสวรรคโลก (ยกเว้นตำบลนาทุ่ง ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง และตำบลคลองยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสัชนาลัย, อำเภอศรีนคร และอำเภอสวรรคโลก (เฉพาะตำบลนาทุ่ง ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง และตำบลคลองยาง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุโขทัย, อำเภอศรีสำโรง, อำเภอกงไกรลาศ และอำเภอคีรีมาศ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีสัชนาลัย, อำเภอสวรรคโลก, อำเภอศรีนคร, อำเภอทุ่งเสลี่ยม และอำเภอบ้านด่านลานหอย
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสำโรงและอำเภอเมืองสุโขทัย (ยกเว้นตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอคีรีมาศ, อำเภอกงไกรลาศ และอำเภอเมืองสุโขทัย (เฉพาะตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านด่านลานหอย, อำเภอทุ่งเสลี่ยม และอำเภอสวรรคโลก (ยกเว้นตำบลนาทุ่ง ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง และตำบลคลองยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสัชนาลัย, อำเภอศรีนคร และอำเภอสวรรคโลก (เฉพาะตำบลนาทุ่ง ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง และตำบลคลองยาง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557[2] · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอทุ่งเสลี่ยม, อำเภอศรีสำโรง และอำเภอเมืองสุโขทัย (ยกเว้นตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านด่านลานหอย, อำเภอคีรีมาศ, อำเภอกงไกรลาศ และอำเภอเมืองสุโขทัย (เฉพาะตำบลปากพระ ตำบลบ้านหลุม ตำบลบ้านสวน และตำบลตาลเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสวรรคโลก, อำเภอศรีนคร และอำเภอศรีสัชนาลัย
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุโขทัย, อำเภอศรีสำโรง และอำเภอกงไกรลาศ (เฉพาะตำบลไกรกลาง ตำบลไกรใน ตำบลกกแรต และตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งเสลี่ยม, อำเภอบ้านด่านลานหอย, อำเภอคีรีมาศ และอำเภอกงไกรลาศ (ยกเว้นตำบลไกรกลาง ตำบลไกรใน ตำบลกกแรต และตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสวรรคโลก, อำเภอศรีนคร และอำเภอศรีสัชนาลัย
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุโขทัย (ยกเว้นตำบลวังทองแดงและตำบลเมืองเก่า), อำเภอศรีสำโรง (ยกเว้นตำบลวัดเกาะ ตำบลบ้านซ่าน ตำบลบ้านไร่ ตำบลราวต้นจันทร์ และตำบลนาขุนไกร) และอำเภอกงไกรลาศ (เฉพาะตำบลไกรใน ตำบลไกรกลาง ตำบลกกแรต และตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านด่านลานหอย, อำเภอคีรีมาศ และอำเภอกงไกรลาศ (ยกเว้นตำบลไกรใน ตำบลไกรกลาง ตำบลกกแรต และตำบลบ้านใหม่สุขเกษม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทุ่งเสลี่ยม, อำเภอสวรรคโลก (ยกเว้นตำบลปากน้ำ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง และตำบลป่ากุมเกาะ), อำเภอศรีสำโรง (เฉพาะตำบลวัดเกาะ ตำบลบ้านซ่าน ตำบลบ้านไร่ ตำบลราวต้นจันทร์ และตำบลนาขุนไกร) และอำเภอเมืองสุโขทัย (เฉพาะตำบลวังทองแดงและตำบลเมืองเก่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสัชนาลัย, อำเภอศรีนคร และอำเภอสวรรคโลก (เฉพาะตำบลปากน้ำ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง และตำบลป่ากุมเกาะ)
4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคสหชีพ
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายไสว อินทรประชา
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายทิม อติเปรมานนท์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายไสว อินทรประชา
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 ขุนระดับคดี (ปัญญา รมยานนท์)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 หลวงนรัตถรักษา (ชื่น วิจิตรเนตร) (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเพ่ง ลิมปะพันธุ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายธวัช ทานสัมฤทธิ์
  • การเลือกตั้งครั้งที่ 1–3 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามจังหวัดสวรรคโลก

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคธรรมาธิปัตย์
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเพ่ง ลิมปะพันธุ์ นายบุญธรรม ชุมดวง
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสุข แสนโกศิก นายบุญธรรม ชุมดวง

ชุดที่ 10–13; พ.ศ. 2512–2522

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคอิสระ
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคเสรีธรรม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายบุญธรรม ชุมดวง นายสำรวย ธรรมสุนทรา นายสุข แสนโกศิก (เสียชีวิต)
นายทัศนัย แสนโกศิก (แทนนายสุข)
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายพจน์ เกิดผล นายไพฑูรย์ โมกขมรรคกุล นายธวัช สุรินทร์คำ
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายบุญธรรม ชุมดวง นายเยื้อน มหาปัญญาวงศ์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายพจน์ เกิดผล นายไพฑูรย์ โมกขมรรคกุล ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539

      พรรคกิจสังคม
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคก้าวหน้า
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคมวลชนพรรคกิจสังคม
      พรรคมวลชนพรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน นายกุศล หมีเทศ ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ นายอารยะ ชุมดวง
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายไพฑูรย์ โมกขมรรคกุล นายอารยะ ชุมดวง
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายกุศล หมีเทศ นายประทวน เขียวฤทธิ์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายกุศล หมีเทศทอง นายธวัช สุรินทร์คำ นายประทวน เขียวฤทธิ์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ นายอารยะ ชุมดวง
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายประทวน เขียวฤทธิ์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายกุศล หมีเทศ นายอารยะ ชุมดวง

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนาพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน
2 นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ
( / เลือกตั้งใหม่)
นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ
3 นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์
4 นายประทวน เขียวฤทธิ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายประทวน เขียวฤทธิ์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทยพรรคกิจสังคม
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสัมพันธ์ ตั้งเบญจผล
นายวิรัตน์ วิริยะพงษ์
2 นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์
นายอารยะ ชุมดวง

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวิรัตน์ วิริยะพงษ์ นางพรรณสิริ กุลนาถศิริ นางพรรณสิริ กุลนาถศิริ
2 นายสัมพันธ์ ตั้งเบญจผล นายชูศักดิ์ คีรีมาศทอง
(ลาออกจากพรรค / ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายชูศักดิ์ คีรีมาศทอง
3 นายจักรวาล ชัยวิรัตน์นุกูล
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ นางสาวประภาพร ทองปากน้ำ
4 นายมนู พุกประเสริฐ ยุบเขต 4 นายจักรวาล ชัยวิรัตน์นุกูล

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/A/121/10.PDF

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya