สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 11 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 11 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุบลราชธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเลียง ไชยกาล และ นายเนย สุจิมา
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ และนายตุ่น จินตะเวช
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดอุบลราชธานี คือ นางอรพินท์ ไชยกาล (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2492)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2480 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอเขื่องใน และอำเภอม่วงสามสิบ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยโสธร, อำเภอลุมพุก และอำเภอฟ้าหยาด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบุ่ง, อำเภอขุหลุ และอำเภอเขมราฐ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเดชอุดม, อำเภอสุวรรณวารี และอำเภอพิบูลมังสาหาร |
|
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอม่วงสามสิบ และอำเภอตระการพืชผล · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอขุขันธ์ และอำเภอกันทรลักษ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอยโสธร, อำเภอเขื่องใน, อำเภอลุมพุก และอำเภอมหาชนะชัย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเดชอุดม, อำเภอโขงเจียม และอำเภอพิบูลมังสาหาร |
|
3 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2491 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
4 คน (เขตละ 4 คน)
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495 |
6 คน (เขตละ 6 คน)
|
พ.ศ. 2500/1 |
7 คน (เขตละ 7 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
9 คน (เขตละ 9 คน)
|
พ.ศ. 2518 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และอำเภอเขื่องใน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน และกิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น |
|
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2519 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเขื่องใน และกิ่งอำเภอหัวตะพาน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน, กิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม |
|
พ.ศ. 2522 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และอำเภอเขื่องใน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย และกิ่งอำเภอตาลสุม · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน และกิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น |
|
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2526 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอตาลสุม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร |
|
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2529 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, กิ่งอำเภอตาลสุม และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร |
|
12 คน (4 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2531 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร |
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, กิ่งอำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอลืออำนาจ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร |
|
พ.ศ. 2535/2 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, กิ่งอำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, อำเภอสิรินธร และกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอลืออำนาจ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร |
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย และกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก |
|
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2539 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย, กิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก |
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลแจระแม ตำบลปทุม ตำบลกุดลาด ตำบลกระโสบ และตำบลไร่น้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลหัวเรือและตำบลขี้เหล็ก), อำเภอตาลสุม (เฉพาะตำบลนาคายและตำบลจิกเทิง) และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขื่องในและอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองปอน ตำบลหนองบ่อ และตำบลขามใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่อง ตำบลบอน และตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลิน) และกิ่งอำเภอนาตาล · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลิน), อำเภอตาลสุม (ยกเว้นตำบลนาคายและตำบลจิกเทิง), อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อและตำบลช่องเม็ก) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี), กิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์ และกิ่งอำเภอนาเยีย · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบุณฑริก, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อและตำบลช่องเม็ก) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่อง ตำบลบอน และตำบลสำโรง), อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง) |
|
11 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตาลสุม, อำเภอดอนมดแดง และอำเภอเหล่าเสือโก้ก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร และอำเภอนาตาล · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, อำเภอสำโรง, อำเภอน้ำขุ่น และอำเภอทุ่งศรีอุดม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอนาเยีย และอำเภอสว่างวีระวงศ์ |
|
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี [(เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลปทุม ตำบลไร่น้อย ตำบลกุดลาด ตำบลกระโสบ และตำบลขามใหญ่ (ในเขตเทศบาลตำบลขามใหญ่)] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเหล่าเสือโก้ก และอำเภอตาลสุม · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี [(เฉพาะตำบลแจระแม ตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลหนองบ่อ ตำบลหัวเรือ ตำบลขี้เหล็ก และตำบลขามใหญ่ (ในเทศบาลตำบลอุบล)] และอำเภอเขื่องใน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ และอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่องและตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอนาตาล · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเวและตำบลทรายมูล) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล), อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอนาเยีย · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบุณฑริก, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่องและตำบลสำโรง) และอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง) |
|
11 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขื่องในและอำเภอม่วงสามสิบ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอนาเยีย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเหล่าเสือโก้ก, อำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอนาตาล, อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโขงเจียม, อำเภอตาลสุม, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด) และอำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสว่างวีระวงศ์, อำเภอพิบูลมังสาหาร และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่ และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนาจะหลวย, อำเภอบุณฑริก และอำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่ และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอสำโรง และอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) |
|
10 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขื่องในและอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเหล่าเสือโก้ก, อำเภอดอนมดแดง และอำเภอตาลสุม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอนาตาล และอำเภอโพธิ์ไทร · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเวและตำบลทรายมูล) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาเยีย, อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนาจะหลวย, อำเภอบุณฑริก และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และอำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง) · เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง) |
|
11 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
- พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488) → พรรคประชาธิปัตย์ → พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหชีพ
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
- พรรคเศรษฐกร
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
- พรรคแนวประชาธิปไตย
- พรรคอิสระ
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธรรม
- พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522
- พรรคเสรีธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาราษฎร์
ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526
- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคราษฎร
- พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาชน → พรรคชาติไทย
- พรรคปวงชนชาวไทย
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคพลังธรรม
- พรรคชาติพัฒนา
- สำหรับการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 เขตเลือกตั้งที่ 3 เป็นของจังหวัดอำนาจเจริญ
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคนำไทย
- พรรคชาติพัฒนา
- พรรคชาติไทย
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคราษฎร → พรรคมหาชน
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
- พรรคชาติไทยพัฒนา
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคเศรษฐกิจไทย
- พรรคเพื่อไทรวมพลัง → พรรคไทรวมพลัง
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคไทยสร้างไทย
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ |
- แม่น้ำ
- เขื่อน
- อุทยานแห่งชาติ
- ภูมิลักษณ์อื่น ๆ
|
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
กีฬา | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|
|