Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดหนองบัวลำภู
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง90,931 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2535
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดหนองบัวลำภู มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นหนองบัวลำภูยังเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี

ปี พ.ศ. 2536 หนองบัวลำภูยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และได้แยกเขตการเลือกตั้งที่ 2 ของจังหวัดอุดรธานี (จากการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535) มาเป็นเขตการเลือกตั้งของจังหวัดหนองบัวลำภู โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายวิเชียร ขาวขำ นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ และนายไพรัช นุชิต

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2538 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองบัวลำภูและอำเภอโนนสัง (เฉพาะตำบลบ้านถิ่น ตำบลปางกู่ ตำบลกุดดู่ ตำบลบ้านค้อ และตำบลโนนสัง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีบุญเรือง, อำเภอนาวัง (ยกเว้นตำบลวังปลาป้อม) และอำเภอโนนสัง (เฉพาะตำบลโคกม่วง ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลโนนเมือง ตำบลหนองเรือ และตำบลโคกใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนากลาง, อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอนาวัง (เฉพาะตำบลวังปลาป้อม)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองบัวลำภูและอำเภอโนนสัง (เฉพาะตำบลบ้านถิ่น ตำบลปางกู่ ตำบลกุดดู่ ตำบลบ้านค้อ และตำบลโนนสัง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีบุญเรือง, อำเภอนาวัง (ยกเว้นตำบลวังปลาป้อม) และอำเภอโนนสัง (เฉพาะตำบลโคกม่วง ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลโนนเมือง ตำบลหนองเรือ และตำบลโคกใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนากลาง, อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอนาวัง (เฉพาะตำบลวังปลาป้อม)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 18; พ.ศ. 2535

      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
2 นายวิเชียร ขาวขำ
นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
นายไพรัช นุชิต

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายไพรัช นุชิต นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
นายไชยา พรหมา นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
ว่าที่ร้อยตรี สรชาติ สุวรรณพรหม

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคเสรีธรรมพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
2 นายไชยา พรหมา
( / เลือกตั้งใหม่)
นายไชยา พรหมา
3 นายวิชัย สามิตร

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายไชยา พรหมา
นายวิชัย สามิตร
นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์ นายไชยา พรหมา นายวิชัย สามิตร
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายสยาม หัตถสงเคราะห์ นายณัฐวุฒิ กองจันทร์ดี
(ลาออกจากพรรค / ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายณพล เชยคำแหง

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya