จังหวัดอำนาจเจริญ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นอำนาจเจริญยังเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี
ปี พ.ศ. 2536 อำนาจเจริญยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และได้แยกเขตเลือกตั้งที่ 3 ของจังหวัดอุบลราชธานี (จากการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535) มาเป็นเขตเลือกตั้งของจังหวัดอำนาจเจริญ โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายสุทัศน์ เงินหมื่น นายวิฑูรย์ นามบุตร และนายสนิท จันทรวงศ์
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 3 สมัย ได้แก่ นายสุทัศน์ เงินหมื่น และนายธีระชัย ศิริขันธ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดอำนาจเจริญ คือ นางสมหญิง บัวบุตร (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 18; พ.ศ. 2535
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคความหวังใหม่ → พรรคไทยรักไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคไทยรักไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพลังประชาชน → พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคภูมิใจไทย
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
กีฬา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|