จังหวัดนครปฐม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครปฐมมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายดาบ เทียม ศรีพิสิฐ[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายชาญชัย ปทุมารักษ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีชุดแรกของจังหวัดนครปฐม คือ นางสาวสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา และนางจุมพิตา จันทรขจร (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/1
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2518
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอกำแพงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี และอำเภอสามพราน |
|
4 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม และ อำเภอกำแพงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสน, อำเภอดอนตูม และอำเภอบางเลน |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2539
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง และตำบลโพรงมะเดื่อ] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง และตำบลตาก้อง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม และอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย และตำบลสามควายเผือก) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลวังเย็น ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน] · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพรานและอำเภอพุทธมณฑล |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอกำแพงแสน และอำเภอนครชัยศรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน, อำเภอพุทธมณฑล และอำเภอสามพราน |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง และตำบลมาบแค) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) และตำบลวังเย็น] · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (ยกเว้นตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค และตำบลทุ่งน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรี, อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง) |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสวนป่าน ตำบลสระกะเทียม ตำบลหนองดินแดง ตำบลวังเย็น ตำบลบางแขม ตำบลดอนยายหอม ตำบลถนนขาด ตำบลพระประโทน ตำบลธรรมศาลา และตำบลสามควายเผือก) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองปากโลง ตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลลำพยา ตำบลสนามจันทร์ ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ และตำบลทุ่งน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลตาก้อง ตำบลทัพหลวง และตำบลหนองงูเหลือม) และอำเภอกำแพงแสน (ยกเว้นตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอกำแพงแสน (เฉพาะตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด) |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500
- พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10–12; พ.ศ. 2512–2519
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคฟื้นฟูชาติไทย
- พรรคธรรมสังคม
ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
- พรรคประชากรไทย
- พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) → พรรคเอกภาพ
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคสามัคคีธรรม
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคชาติไทย
- พรรคเอกภาพ
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคชาติไทย
- ***หมายเหตุ นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ลาออกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคชาติไทย
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคอนาคตใหม่
- พรรคอนาคตใหม่ → พรรคก้าวไกล
- พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|