สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนวรศาสน์ดรุณกิจ (ฝ้าย บุญเลี้ยง)
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 10 สมัย ได้แก่ นายบัญญัติ บรรทัดฐาน และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดสุราษฎร์ธานี คือ นางนิภา พริ้งศุลกะ (จากการเลือกตั้ง มีนาคม พ.ศ. 2535)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495
|
พ.ศ. 2500/1 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2518
|
พ.ศ. 2519 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย และกิ่งอำเภอเกาะพะงัน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และกิ่งอำเภอบ้านตาขุน |
|
4 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2522 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และกิ่งอำเภอบ้านนาเดิม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และอำเภอบ้านตาขุน |
|
พ.ศ. 2526 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และกิ่งอำเภอบ้านนาเดิม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอชัยบุรี |
|
พ.ศ. 2529 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, กิ่งอำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน |
|
พ.ศ. 2535/2 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอวิภาวดี |
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และอำเภอชัยบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอวิภาวดี
|
พ.ศ. 2539 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอบ้านนาเดิม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านตาขุน, อำเภอชัยบุรี และกิ่งอำเภอวิภาวดี |
|
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และ ตำบลช้างขวา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และตำบลช้างขวา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลเขาตอก) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลเขาตอก), อำเภอพนม และอำเภอบ้านตาขุน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง อำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และกิ่งอำเภอวิภาวดี |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอเวียงสระ (ยกเว้นตำบลทุ่งหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ (เฉพาะตำบลทุ่งหลวง), อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอบ้านตาขุน, อำเภอชัยบุรี และอำเภอวิภาวดี |
|
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และ ตำบลช้างขวา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และตำบลช้างขวา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ), อำเภอพนม และอำเภอบ้านตาขุน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง อำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอวิภาวดี |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย ตำบลช้างขวา ตำบลป่าร่อน และตำบลคลองสระ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย ตำบลช้างขวา ตำบลป่าร่อน และตำบลคลองสระ) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอพนม, อำเภอบ้านตาขุน และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง, อำเภอวิภาวดี และอำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (ยกเว้นตำบลวัดประดู่และตำบลขุนทะเล) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอดอนสัก และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลท่าทอง ตำบลพลายวาส ตำบลท่าอุแท และตำบลคลองสระ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเวียงสระ, อำเภอบ้านนาสาร (ยกเว้นตำบลทุ่งเตาและตำบลทุ่งเตาใหม่) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านตาขุน · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบุรี, อำเภอพระแสง, อำเภอพนม และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอท่าชนะ, อำเภอไชยา, อำเภอท่าฉาง และอำเภอวิภาวดี · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอบ้านนาสาร (เฉพาะตำบลทุ่งเตาและตำบลทุ่งเตาใหม่), อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (เฉพาะตำบลวัดประดู่และตำบลขุนทะเล) และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลท่าทอง ตำบลพลายวาส ตำบลท่าอุแท และตำบลคลองสระ) |
|
7 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ → พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 12–14; พ.ศ. 2519–2526
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
ชุดที่ 15–19; พ.ศ. 2529–2538
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคพลังธรรม
ชุดที่ 20; พ.ศ. 2539
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
- พรรคภูมิใจไทย
รูปภาพ
-
นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
-
นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
-
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
-
นายภิญญา ช่วยปลอด
-
นางนิภา พริ้งศุลกะ
-
นายธวัช วิชัยดิษฐ
-
นายสินิตย์ เลิศไกร
-
นายเชน เทือกสุบรรณ
-
นายธานี เทือกสุบรรณ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | คมนาคม |
- ทางหลวง
- ทางรถไฟ
- ท่าอากาศยาน
|
---|
|
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|
|