จังหวัดลำพูน มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดลำพูนมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าบุญมี ตุงคนาคร
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายมนตรี ด่านไพบูลย์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดลำพูน คือ นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหชีพ
ชุดที่ 8–14; พ.ศ. 2500–2526
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคประชาไทย → พรรคชาติไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรครวมไทย → พรรคเอกภาพ
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคชาติไทย
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
รูปภาพ
-
เจ้าบุญมี ตุงคนาคร
-
เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน
-
นายประเทือง ปานลักษณ์
-
นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์
-
นายสงวน พงษ์มณี
-
นายสถาพร มณีรัตน์
-
นายขยัน วิพรหมชัย
ผู้ดำรงตำแหน่ง/เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนที่ยังมีชีวิตอยู่
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|