Share to:

 

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24
ชุดที่ 23 ชุดที่ 25
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติรัฐสภาไทย
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภาไทย
วาระ3 กรกฎาคม 2554 – 9 ธันวาคม 2556
(2 ปี 159 วัน)
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
รัฐบาลคณะรัฐมนตรียิ่งลักษณ์
ฝ่ายค้านพรรคประชาธิปัตย์ และพรรคร่วมฝ่ายค้าน 4 พรรค
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก500
ประธานสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
รองประธานคนที่ 1เจริญ จรรย์โกมล
รองประธานคนที่ 2วิสุทธิ์ ไชยณรุณ
นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ผู้นำฝ่ายค้านอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พรรคครองพรรคเพื่อไทย
สมัยประชุม
ที่ 11 สิงหาคม 2554 – 9 เมษายน 2555
ที่ 21 สิงหาคม – 29 พฤศจิกายน 2555
ที่ 321 ธันวาคม 2555 – 20 เมษายน 2556
ที่ 41 สิงหาคม – 29 พฤศจิกายน 2556
สมัยประชุมวิสามัญ
ที่ 129 พฤษภาคม – 19 มิถุนายน 2556
ที่ 22 พฤษภาคม – 10 พฤษภาคม 2557

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร (พระราชอิสริยยศในขณะนั้น) เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ เปิดประชุมรัฐสภา ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต ลานพระบรมรูปทรงม้า เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554[1] ในวันต่อมา เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้นัดประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ที่ประชุมมีมติเลือกนายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร[2]

จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค ประเภท และภาค

พรรค บัญชี
รายชื่อ
แบ่งเขต รวม
กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก
เพื่อไทย 61 9 47 35 104 - 6 2 264
ประชาธิปัตย์ 44 24 15 1 4 50 11 12 161
ภูมิใจไทย 5 - 8 - 13 1 2 4 33
ชาติไทยพัฒนา 4 - 11 - 1 1 1 1 19
ชาติพัฒนา 2 - 1 - 4 - - - 7
พลังชล 1 - - - - - 6 - 7
รักประเทศไทย 4 - - - - - - - 4
มาตุภูมิ 1 - - - - 1 - - 2
รักษ์สันติ 1 - - - - - - - 1
มหาชน 1 - - - - - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - - - - - 1
รวม 125 33 82 36 126 53 26 19 500

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ได้รับการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง

มีรายนามดังนี้[3][4][5][6][7]

# รายนาม เพิ่มเติม
1 ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
2 ยงยุทธ วิชัยดิษฐ ลาออก 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555[8]
3 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
4 เสนาะ เทียนทอง
5 พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก ลาออก 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555[9]
6 มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ
7 ปลอดประสพ สุรัสวดี ลาออก 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
8 จตุพร พรหมพันธุ์ พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[10]
9 ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ
10 สุชาติ ธาดาธำรงเวช
11 พลตำรวจโท ชัจจ์ กุลดิลก ลาออก 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554[11]
12 จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ ลาออก 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
13 บัณฑูร สุภัควณิช ลาออก 22 สิงหาคม พ.ศ. 2554[12]
14 พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
15 สันติ พร้อมพัฒน์ ลาออก 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554
16 พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน
17 พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
18 วิรุฬ เตชะไพบูลย์ ลาออก 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554
19 นายแพทย์ เหวง โตจิราการ
20 สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
21 นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล ลาออก 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
22 วัฒนา เมืองสุข
23 พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา ลาออก 17 ตุลาคม พ.ศ. 2554
24 ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิ นวรัตน์
25 ภูวนิดา คุนผลิน
26 สุนัย จุลพงศธร
27 ระพิพรรณ พงศ์เรืองรอง
28 คณวัฒน์ วศินสังวร
29 อัสนี เชิดชัย
30 สุณีย์ เหลืองวิจิตร
31 พันตรี อณันย์ วัชโรทัย
32 วิรัช รัตนเศรษฐ
33 พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
34 นภินทร ศรีสรรพางค์
35 ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
36 วราภรณ์ ตั้งภากรณ์
37 สุนทรี ชัยวิรัตนะ
38 ตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร
39 สมพล เกยุราพันธุ์
40 พงศกร อรรณนพพร
41 พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์
42 ขัตติยา สวัสดิผล
43 ธนเทพ ทิมสุวรรณ
44 กฤษณา สีหลักษณ์
45 เกียรติชัย ติรณศักดิ์กุล
46 วิภูแถลง พัฒนภูมิไท
47 เยาวนิตย์ เพียงเกษ
48 พายัพ ปั้นเกตุ
49 รังสิมา เจริญศิริ
50 นายแพทย์ เชิดชัย ตันติศิรินทร์
51 กานต์ กัลป์ตินันท์
52 ธนิก มาศรีพิทักษ์
53 พิชิต ชื่นบาน
54 ก่อแก้ว พิกุลทอง
55 นิยม วรปัญญา
56 จารุพรรณ กุลดิลก
57 อรรถกร ศิริลัทธยากร
58 เวียง วรเชษฐ์
59 อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
60 วิเชียร ขาวขำ ลาออก เพื่อลงสมัครนายก อบจ.อุดรธานี
11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[13]
61 ประวัฒน์ อุตโมท
62 ดนุพร ปุณณกันต์ แทน บัณฑูร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554[14]
63 ยุรนันท์ ภมรมนตรี แทน ชัจจ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554[15]
ลาออก เพื่อลงเลือกตั้งซ่อม สส.กทม.
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[16]
64 บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ แทน สันติ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554[17]
65 กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ แทน ยุทธศักดิ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554[18]
66 อุดมรัตน์ อาภรณ์รัตน์ แทน วิรุฬ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554[19]
67 ชวลิต วิชยสุทธิ์ แทน นิวัฒน์ธํารง; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555[20]
68 ธวัชชัย สุทธิบงกช แทน จารุพงศ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555[21]
69 ทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ แทน วิเชียร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[22]
70 สรรพภัญญู ศิริไปล์ แทน จตุพร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[23]
71 มาลินี อินฉัตร แทน ยงยุทธ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555[24]
72 ชินวัฒน์ หาบุญพาด แทน ประชา; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555[25]
73 เอกธนัช อินทร์รอด แทน ปลอดประสพ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 25554[26]
74 ถิรชัย วุฒิธรรม แทน ยุรนันท์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[27]
ลาออก 18 ตุลาคม พ.ศ. 2556
75 สมเกียรติ ศรลัมพ์ แทน ถิรชัย; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556[28]

เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมพรรคประชาธิปัตย์มีมติให้ ส.ส. ลาออกทั้งพรรค [29] เพื่อต่อต้านรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แต่ในวันถัดไปรัฐบาลก็ยุบสภา

# รายนาม เพิ่มเติม
1 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
2 ชวน หลีกภัย
3 บัญญัติ บรรทัดฐาน
4 เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
5 จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
6 กรณ์ จาติกวณิช
7 คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช
8 อภิรักษ์ โกษะโยธิน
9 ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
10 ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
11 ไพฑูรย์ แก้วทอง
12 อิสสระ สมชัย ลาออก 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
13 เจริญ คันธวงศ์
14 อลงกรณ์ พลบุตร
15 อาคม เอ่งฉ้วน
16 นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
17 สุทัศน์ เงินหมื่น
18 องอาจ คล้ามไพบูลย์
19 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
20 วิฑูรย์ นามบุตร
21 ถวิล ไพรสณฑ์
22 ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
23 พันเอก วินัย สมพงษ์
24 - สุวโรช พะลัง ถึงแก่กรรมระหว่างช่วงก่อนวันลงคะแนน
วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2554
25 ผุสดี ตามไท ลาออก 1 เมษายน พ.ศ. 2556
26 ปัญญวัฒน์ บุญมี ถึงแก่กรรม 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556[30]
27 สามารถ ราชพลสิทธิ์
28 นายแพทย์ บุรณัชย์ สมุทรักษ์
29 ภุชงค์ รุ่งโรจน์
30 นิพนธ์ บุญญามณี ลาออก เพื่อลงสมัครนายก อบจ.สงขลา
14 มิถุนายน พ.ศ. 2556
31 อานิก อัมระนันทน์
32 โกวิทย์ ธารณา
33 อัศวิน วิภูศิริ
34 ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ
35 เกียรติ สิทธิอมร
36 บุญยอด สุขถิ่นไทย
37 กนก วงษ์ตระหง่าน
38 พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี ถึงแก่กรรม 20 มีนาคม พ.ศ. 2556[31]
39 สุกิจ ก้องธรนินทร์
40 ประกอบ จิรกิติ
41 พีรยศ ราฮิมมูลา
42 กษิต ภิรมย์
43 วีระชัย วีระเมธีกุล
44 รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
45 วัชระ เพชรทอง
46 จุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ แทน ปัญญวัฒน์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556[32]
47 อิสรา สุนทรวัฒน์ แทน ปัญญวัฒน์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556[33]
49 ชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต แทน ผุสดี; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556[34]
50 ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ แทน นิพนธ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2556[35]
51 มณทิพย์ ศรีรัตนา แทน อิสสระ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556[36]


# รายนาม เพิ่มเติม
1 ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
2 ชัย ชิดชอบ
3 เรืองศักดิ์ งามสมภาค
4 นาที รัชกิจประการ
5 ศุภชัย ใจสมุทร
# รายนาม เพิ่มเติม
1 ชุมพล ศิลปอาชา ถึงแก่กรรม 21 มกราคม พ.ศ. 2556
2 พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ ถึงแก่กรรม 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
3 นิติวัฒน์ จันทร์สว่าง
4 ยุทธพล อังกินันทน์
5 ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ แทน ชุมพล; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556[37]
7 ฐนนท์ศรณ์ เลิศฤทธิ์ศิริกุล แทน สนั่น; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
(ข้ามลำดับที่ 6)
# รายนาม เพิ่มเติม
1 ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ ลาออก 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556[38]
2 ชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์
3 โปรดปราน โต๊ะราหนี
4 พงษ์ศักดิ์ เรือนเงิน ลาออก 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555
5 สมเพชร แต่งงาม แทน พงษ์ศักดิ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555[39]
# รายนาม เพิ่มเติม
1 ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์
2 ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
# รายนาม เพิ่มเติม
1 ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
# รายนาม เพิ่มเติม
1 พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน
# รายนาม เพิ่มเติม
1 สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์
# รายนาม เพิ่มเติม
1 อภิรัต ศิรินาวิน
# รายนาม เพิ่มเติม
2 พัชรินทร์ มั่นปาน (ข้ามลำดับที่ 1)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ
ได้รับใบเหลือง
ได้รับใบแดง

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

กรุงเทพมหานคร

มีรายนามดังนี้[40]

หน่วยการปกครอง เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร 1 เจิมมาศ จึงเลิศศิริ พรรคประชาธิปัตย์
2 อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ พรรคประชาธิปัตย์
3 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล พรรคประชาธิปัตย์
4 อนุชา บูรพชัยศรี พรรคประชาธิปัตย์
5 ลีลาวดี วัชโรบล พรรคเพื่อไทย
6 ธนา ชีรวินิจ พรรคประชาธิปัตย์
7 พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
8 สรรเสริญ สมะลาภา พรรคประชาธิปัตย์
9 อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี พรรคประชาธิปัตย์
10 ชื่นชอบ คงอุดม พรรคประชาธิปัตย์
11 สุรชาติ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
12 การุณ โหสกุล พรรคเพื่อไทย พ้นสภาพตามคำพิพากษาของศาลฯ[41]
แทนคุณ จิตต์อิสระ พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งซ่อม
13 นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ พรรคเพื่อไทย
14 อนุสรณ์ ปั้นทอง พรรคเพื่อไทย
15 ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน พรรคประชาธิปัตย์
16 พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ พรรคเพื่อไทย
17 วิชาญ มีนชัยนันท์ พรรคเพื่อไทย
18 จิรายุ ห่วงทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
19 ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ พรรคเพื่อไทย
20 ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ พรรคเพื่อไทย
21 นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
22 สามารถ มะลูลีม พรรคประชาธิปัตย์
23 สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
24 สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
25 นันทพร วีรกุลสุนทร พรรคประชาธิปัตย์
26 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
27 สากล ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
28 พันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
29 เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
30 อรอนงค์ คล้ายนก พรรคประชาธิปัตย์
31 วิลาศ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
32 ชนินทร์ รุ่งแสง พรรคประชาธิปัตย์
33 รัชดา ธนาดิเรก พรรคประชาธิปัตย์

ภาคกลาง

มีรายนามดังนี้[42][43]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กำแพงเพชร 1 ไผ่ ลิกค์ พรรคเพื่อไทย
2 ปรีชา มุสิกุล พรรคประชาธิปัตย์
3 อนันต์ ผลอำนวย พรรคเพื่อไทย
4 ปริญญา ฤกษ์หร่าย พรรคเพื่อไทย
ชัยนาท 1 พรทิวา นาคาศัย พรรคภูมิใจไทย
2 นันทนา สงฆ์ประชา พรรคภูมิใจไทย
นครนายก 1 วุฒิชัย กิตติธเนศวร พรรคภูมิใจไทย
นครปฐม 1 พันโท สินธพ แก้วพิจิตร พรรคชาติไทยพัฒนา
2 รัฐกร เจนกิจณรงค์ พรรคเพื่อไทย
3 ก่อเกียรติ สิริยะเสถียร พรรคเพื่อไทย
4 อนุชา สะสมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
5 เผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
นครสวรรค์ 1 สงกรานต์ จิตสุทธิภากร พรรคประชาธิปัตย์
2 ดิสทัต คำประกอบ พรรคเพื่อไทย
3 สัญชัย วงษ์สุนทร พรรคเพื่อไทย
4 พันตำรวจโท นุกูล แสงศิริ พรรคเพื่อไทย
5 ทายาท เกียรติชูศักดิ์ พรรคเพื่อไทย
6 ประสาท ตันประเสริฐ พรรคชาติพัฒนา
นนทบุรี 1 นิทัศน์ ศรีนนท์ พรรคเพื่อไทย
2 อุดมเดช รัตนเสถียร พรรคเพื่อไทย
3 วไลพร อัจฉริยะประสิทธิ์ พรรคเพื่อไทย
4 มนตรี ตั้งเจริญถาวร พรรคเพื่อไทย
5 วันชัย เจริญนนทสิทธิ์ พรรคเพื่อไทย
6 ฉลอง เรี่ยวแรง พรรคเพื่อไทย
ปทุมธานี 1 สุทิน นพขำ พรรคเพื่อไทย
2 สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล พรรคเพื่อไทย
3 สมศักดิ์ ใจแคล้ว พรรคเพื่อไทย
4 พรพิมล ธรรมสาร พรรคเพื่อไทย
5 ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี พรรคเพื่อไทย ลาออก 8 มีนาคม พ.ศ. 2555[44]
เกียรติศักดิ์ ส่องแสง พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่
6 ชูชาติ หาญสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
พระนครศรีอยุธยา 1 เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร พรรคชาติไทยพัฒนา
2 พ้อง ชีวานันท์ พรรคเพื่อไทย
3 สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล พรรคเพื่อไทย
4 วิทยา บุรณศิริ พรรคเพื่อไทย
5 องอาจ วชิรพงศ์ พรรคเพื่อไทย
พิจิตร 1 วินัย ภัทรประสิทธิ์ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 นราพัฒน์ แก้วทอง พรรคประชาธิปัตย์
3 ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ พรรคชาติไทยพัฒนา
พิษณุโลก 1 วรงค์ เดชกิจวิกรม พรรคประชาธิปัตย์
2 นพพล เหลืองทองนารา พรรคเพื่อไทย
3 จุติ ไกรฤกษ์ พรรคประชาธิปัตย์
4 นิยม ช่างพินิจ พรรคเพื่อไทย
5 นคร มาฉิม พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบูรณ์ 1 สุทัศน์ จันทร์แสงศรี พรรคเพื่อไทย
2 จักรัตน์ พั้วช่วย พรรคเพื่อไทย
3 ยุพราช บัวอินทร์ พรรคประชาธิปัตย์
4 วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ พรรคเพื่อไทย
5 สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ พรรคเพื่อไทย
6 เอี่ยม ทองใจสด พรรคเพื่อไทย
ลพบุรี 1 พิชัย เกียรติวินัยสกุล พรรคเพื่อไทย
2 มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช พรรคภูมิใจไทย
3 อำนวย คลังผา พรรคเพื่อไทย
4 เกียรติ เหลืองขจรวิทย์ พรรคภูมิใจไทย ใบเหลือง
พหล วรปัญญา พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่[45][46]
สมุทรปราการ 1 อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ พรรคเพื่อไทย
2 ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย พรรคเพื่อไทย
3 อนุสรา ยังตรง พรรคเพื่อไทย
4 วรชัย เหมะ พรรคเพื่อไทย
5 สลิลทิพย์ สุขวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
6 เรวดี รัศมิทัต พรรคภูมิใจไทย
7 ประชา ประสพดี พรรคเพื่อไทย
สมุทรสงคราม 1 รังสิมา รอดรัศมี พรรคประชาธิปัตย์
สมุทรสาคร 1 ครรชิต ทับสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
2 บุญชู นิลถนอม พรรคเพื่อไทย
3 นิติรัฐ สุนทรวร พรรคประชาธิปัตย์
สระบุรี 1 กัลยา รุ่งวิจิตรชัย พรรคประชาธิปัตย์
2 อรรถพล วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย
3 วัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย
4 องอาจ วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย
สิงห์บุรี 1 สุรสาล ผาสุข พรรคเพื่อไทย
สุโขทัย 1 วิรัตน์ วิริยะพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 ชูศักดิ์ คีรีมาศทอง พรรคภูมิใจไทย
3 จักรวาล ชัยวิรัตน์นุกุล พรรคภูมิใจไทย ใบเหลือง
ได้รับการเลือกตั้งใหม่[47]
4 มนู พุกประเสริฐ พรรคภูมิใจไทย
สุพรรณบุรี 1 สรชัด สุจิตต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทยพัฒนา
3 นพดล มาตรศรี พรรคชาติไทยพัฒนา
4 พัชรี โพธสุธน พรรคชาติไทยพัฒนา
5 สหรัฐ กุลศรี พรรคเพื่อไทย
อ่างทอง 1 ภราดร ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพัฒนา
2 กรวีร์ ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพัฒนา
อุทัยธานี 1 กุลเดช พัวพัฒนกุล พรรคประชาธิปัตย์
2 ชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคชาติไทยพัฒนา

ภาคเหนือ

มีรายนามดังนี้[43]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
เชียงราย 1 สามารถ แก้วมีชัย พรรคเพื่อไทย
2 สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ พรรคเพื่อไทย
3 วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
4 รังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ พรรคเพื่อไทย
5 พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน พรรคเพื่อไทย
6 อิทธิเดช แก้วหลวง พรรคเพื่อไทย
7 ละออง ติยะไพรัช พรรคเพื่อไทย
เชียงใหม่ 1 ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ พรรคเพื่อไทย
2 กฤษดาภรณ์ เสียมภักดี พรรคเพื่อไทย
3 ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย พ้นสภาพตามคำพิพากษาของศาลฯ[48]
เกษม นิมมลรัตน์ เลือกตั้งใหม่ 2 มิ.ย. 55[49] และลาออก 13 มี.ค. 56
เยาวภา วงศ์สวัสดิ์ เลือกตั้งใหม่ 21 เม.ย. 56
4 วิทยา ทรงคำ พรรคเพื่อไทย
5 ประสิทธิ์ วุฒินันชัย พรรคเพื่อไทย
6 จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
7 บุญทรง เตริยาภิรมย์ พรรคเพื่อไทย
8 นพคุณ รัฐผไท พรรคเพื่อไทย
9 สุรพล เกียรติไชยากร พรรคเพื่อไทย
10 ศรีเรศ โกฎคำลือ พรรคเพื่อไทย
น่าน 1 สิรินทร รามสูต พรรคเพื่อไทย
2 ชลน่าน ศรีแก้ว พรรคเพื่อไทย
3 ณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ พรรคเพื่อไทย
พะเยา 1 อรุณี ชำนาญยา พรรคเพื่อไทย
2 วิสุทธิ์ ไชยณรุณ พรรคเพื่อไทย
3 ไพโรจน์ ตันบรรจง พรรคเพื่อไทย
แพร่ 1 ปานหทัย เสรีรักษ์ พรรคเพื่อไทย
2 นิยม วิวรรธนดิฐกุล พรรคเพื่อไทย
3 วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล พรรคเพื่อไทย
แม่ฮ่องสอน 1 สมบัติ ยะสินธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
ลำปาง 1 สมโภช สายเทพ พรรคเพื่อไทย
2 วาสิต พยัคฆบุตร พรรคเพื่อไทย
3 จรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
4 อิทธิฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
ลำพูน 1 สงวน พงษ์มณี พรรคเพื่อไทย
2 สถาพร มณีรัตน์ พรรคเพื่อไทย เสียชีวิต[50]
รังสรรค์ มณีรัตน์ เลือกตั้งใหม่
อุตรดิตถ์ 1 กนก ลิ้มตระกูล พรรคเพื่อไทย
2 ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ พรรคเพื่อไทย
3 ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มีรายนามดังนี้[51]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ 1 บุญรื่น ศรีธเรศ พรรคเพื่อไทย
2 วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
3 คมเดช ไชยศิวามงคล พรรคเพื่อไทย
4 พีระเพชร ศิริกุล พรรคเพื่อไทย
5 นิพนธ์ ศรีธเรศ พรรคเพื่อไทย
6 ประเสริฐ บุญเรือง พรรคเพื่อไทย
ขอนแก่น 1 จักริน พัฒน์ดำรงจิตร พรรคเพื่อไทย
2 ภูมิ สาระผล พรรคเพื่อไทย
3 จตุพร เจริญเชื้อ พรรคเพื่อไทย
4 มุกดา พงษ์สมบัติ พรรคเพื่อไทย
5 สุชาย ศรีสุรพล พรรคเพื่อไทย
6 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พรรคเพื่อไทย
7 นวัธ เตาะเจริญสุข พรรคเพื่อไทย
8 ดวงแข อรรณนพพร พรรคเพื่อไทย
9 ร้อยโท ปรีชาพล พงษ์พานิช พรรคเพื่อไทย
10 เรืองเดช สุพรรณฝ่าย พรรคเพื่อไทย
ชัยภูมิ 1 โอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย พรรคภูมิใจไทย
2 มานะ โลหะวณิชย์ พรรคเพื่อไทย
3 ปาริชาติ ชาลีเครือ พรรคเพื่อไทย
4 อนันต์ ลิมปคุปตถาวร พรรคเพื่อไทย
5 เจริญ จรรย์โกมล พรรคเพื่อไทย
6 พรเพ็ญ บุญศิริวัฒนกุล พรรคเพื่อไทย
7 สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
นครพนม 1 ยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
2 มนพร เจริญศรี พรรคเพื่อไทย
3 ไพจิต ศรีวรขาน พรรคเพื่อไทย
4 ชูกัน กุลวงษา พรรคเพื่อไทย
นครราชสีมา 1 วรรณรัตน์ ชาญนุกูล พรรคชาติพัฒนา
2 วัชรพล โตมรศักดิ์ พรรคชาติพัฒนา
3 ประเสริฐ บุญชัยสุข พรรคชาติพัฒนา
4 ทัศนียา รัตนเศรษฐ พรรคเพื่อไทย
5 โกศล ปัทมะ พรรคเพื่อไทย
6 สุชาติ ภิญโญ พรรคเพื่อไทย
7 อธิรัฐ รัตนเศรษฐ พรรคเพื่อไทย
8 จรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร พรรคเพื่อไทย
9 พลพีร์ สุวรรณฉวี พรรคชาติพัฒนา
10 บุญจง วงศ์ไตรรัตน์ พรรคภูมิใจไทย
11 สัมภาษณ์ อัตถาวงศ์ พรรคเพื่อไทย
12 ประนอม โพธิ์คำ พรรคภูมิใจไทย
13 ศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ พรรคเพื่อไทย
14 ประเสริฐ จันทรรวงทอง พรรคเพื่อไทย
15 วิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ พรรคภูมิใจไทย
บึงกาฬ 1 เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ พรรคเพื่อไทย
2 ไตรรงค์ ติธรรม พรรคเพื่อไทย
บุรีรัมย์ 1 สนอง เทพอักษรณรงค์ พรรคภูมิใจไทย
2 รังสิกร ทิมาตฤกะ พรรคภูมิใจไทย
3 โสภณ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
4 อารีญาภรณ์ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
5 มนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ พรรคภูมิใจไทย
6 พรชัย ศรีสุริยันโยธิน พรรคเพื่อไทย
7 หนูแดง วรรณกางซ้าย พรรคเพื่อไทย
8 รุ่งโรจน์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
9 จักรกฤษณ์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
มหาสารคาม 1 สุรจิตร ยนต์ตระกูล พรรคเพื่อไทย
2 ไชยวัฒน์ ติณรัตน์ พรรคเพื่อไทย
3 ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร พรรคเพื่อไทย
4 จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ พรรคเพื่อไทย
5 กุสุมาลวตี ศิริโกมุท พรรคเพื่อไทย
มุกดาหาร 1 อนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ พรรคเพื่อไทย
2 บุญฐิน ประทุมลี พรรคเพื่อไทย
ยโสธร 1 ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ พรรคเพื่อไทย
2 บุญแก้ว สมวงศ์ พรรคเพื่อไทย
3 พีรพันธุ์ พาลุสุข พรรคเพื่อไทย
ร้อยเอ็ด 1 วราวงษ์ พันธุ์ศิลา พรรคเพื่อไทย
2 ฉลาด ขามช่วง พรรคเพื่อไทย
3 นิรมิต สุจารี พรรคเพื่อไทย
4 นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ พรรคเพื่อไทย
5 เอมอร สินธุไพร พรรคเพื่อไทย
6 กิตติ สมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
7 ศักดา คงเพชร พรรคเพื่อไทย
8 เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ พรรคเพื่อไทย
เลย 1 ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข พรรคเพื่อไทย
2 นันทนา ทิมสุวรรณ พรรคเพื่อไทย
3 เปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข พรรคเพื่อไทย
4 วันชัย บุษบา พรรคเพื่อไทย
ศรีสะเกษ 1 ธเนศ เครือรัตน์ พรรคเพื่อไทย
2 สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย
3 อุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ พรรคภูมิใจไทย
4 วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ พรรคเพื่อไทย
5 ธีระ ไตรสรณกุล พรรคเพื่อไทย
6 วีระพล จิตสัมฤทธิ์ พรรคเพื่อไทย
7 มานพ จรัสดำรงนิตย์ พรรคเพื่อไทย
8 ปวีณ แซ่จึง พรรคเพื่อไทย
สกลนคร 1 อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย พรรคเพื่อไทย
2 นิยม เวชกามา พรรคเพื่อไทย
3 นริศร ทองธิราช พรรคเพื่อไทย
4 พัฒนา สัพโส พรรคเพื่อไทย
5 อนุรักษ์ บุญศล พรรคเพื่อไทย
6 เสรี สาระนันท์ พรรคเพื่อไทย
7 เกษม อุประ พรรคเพื่อไทย
สุรินทร์ 1 ปกรณ์ มุ่งเจริญพร พรรคภูมิใจไทย
2 ปิยะดา มุ่งเจริญพร พรรคเพื่อไทย
3 คุณากร ปรีชาชนะชัย พรรคเพื่อไทย
4 ตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล พรรคเพื่อไทย
5 ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม พรรคเพื่อไทย
6 จ่าสิบตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ พรรคเพื่อไทย
7 สมบัติ ศรีสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
8 ชูศักดิ์ แอกทอง พรรคเพื่อไทย
หนองคาย 1 ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย พรรคเพื่อไทย
2 สมคิด บาลไธสง พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 31 ก.ค.[52]
ได้รับการเลือกตั้งใหม่
3 ชมภู จันทาทอง พรรคเพื่อไทย
หนองบัวลำภู 1 พิษณุ หัตถสงเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
2 ไชยา พรหมา พรรคเพื่อไทย
3 วิชัย สามิตร พรรคเพื่อไทย
อุดรธานี 1 ศราวุธ เพชรพนมพร พรรคเพื่อไทย
2 พันตำรวจโท สุรทิน พิมานเมฆินทร์ พรรคเพื่อไทย
3 อนันต์ ศรีพันธุ์ พรรคเพื่อไทย
4 ขจิตร ชัยนิคม พรรคเพื่อไทย
5 ทองดี มนิสสาร พรรคเพื่อไทย
6 เกียรติ์อุดม เมนะสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
7 จักรพรรดิ ไชยสาส์น พรรคเพื่อไทย
8 เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม พรรคเพื่อไทย
9 เทียบจุฑา ขาวขำ พรรคเพื่อไทย
อุบลราชธานี 1 วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ พรรคเพื่อไทย
2 ศุภชัย ศรีหล้า พรรคประชาธิปัตย์
3 วุฒิพงษ์ นามบุตร พรรคประชาธิปัตย์
4 สุพล ฟองงาม พรรคเพื่อไทย
5 สุทธิชัย จรูญเนตร พรรคเพื่อไทย
6 พิสิษฐ์ สันตพันธุ์ พรรคเพื่อไทย
7 ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ พรรคเพื่อไทย
8 บุณย์ธิดา สมชัย พรรคประชาธิปัตย์
9 ปัญญา จินตะเวช พรรคเพื่อไทย
10 สมคิด เชื้อคง พรรคเพื่อไทย
11 ตุ่น จินตะเวช พรรคเพื่อไทย
อำนาจเจริญ 1 สมหญิง บัวบุตร พรรคเพื่อไทย
2 อภิวัฒน์ เงินหมื่น พรรคประชาธิปัตย์

ภาคใต้

มีรายนามดังนี้[53]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กระบี่ 1 สาคร เกี่ยวข้อง พรรคประชาธิปัตย์
2 สุชีน เอ่งฉ้วน พรรคประชาธิปัตย์
3 พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล พรรคประชาธิปัตย์
ชุมพร 1 ชุมพล จุลใส พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
2 สราวุธ อ่อนละมัย พรรคประชาธิปัตย์
3 ธีระชาติ ปางวิรุฬรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ตรัง 1 สุกิจ อัถโถปกรณ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 สาทิตย์ วงศ์หนองเตย พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
3 สมชาย โล่สถาพรพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
4 สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล พรรคประชาธิปัตย์
นครศรีธรรมราช 1 อภิชาต ศักดิเศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 นริศา อดิเทพวรพันธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
3 วิทยา แก้วภราดัย พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
4 อภิชาต การิกาญจน์ พรรคประชาธิปัตย์
5 ประกอบ รัตนพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์
6 เทพไท เสนพงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
7 ชินวรณ์ บุณยเกียรติ พรรคประชาธิปัตย์
8 สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ พรรคประชาธิปัตย์
9 พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล พรรคประชาธิปัตย์
นราธิวาส 1 กูอาเซ็ม กูจินามิง พรรคประชาธิปัตย์
2 สุรเชษฐ์ แวอาแซ พรรคประชาธิปัตย์
3 รำรี มามะ พรรคประชาธิปัตย์
4 เจะอามิง โตะตาหยง พรรคประชาธิปัตย์
ปัตตานี 1 อันวาร์ สาและ พรรคประชาธิปัตย์
2 อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม พรรคประชาธิปัตย์
3 อนุมัติ ซูสารอ พรรคมาตุภูมิ
4 สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ พรรคภูมิใจไทย
พังงา 1 กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
พัทลุง 1 สุพัชรี ธรรมเพชร พรรคประชาธิปัตย์
2 นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ พรรคประชาธิปัตย์
3 นริศ ขำนุรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ภูเก็ต 1 อัญชลี เทพบุตร พรรคประชาธิปัตย์
2 เรวัต อารีรอบ พรรคประชาธิปัตย์
ยะลา 1 ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ พรรคประชาธิปัตย์
2 อับดุลการิม เด็งระกีนา พรรคประชาธิปัตย์
3 ณรงค์ ดูดิง พรรคประชาธิปัตย์
ระนอง 1 วิรัช ร่มเย็น พรรคประชาธิปัตย์
สงขลา 1 เจือ ราชสีห์ พรรคประชาธิปัตย์
2 ภิรพล ลาภาโรจน์กิจ พรรคประชาธิปัตย์
3 วิรัตน์ กัลยาศิริ พรรคประชาธิปัตย์
4 ชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว พรรคประชาธิปัตย์
5 ประพร เอกอุรุ พรรคประชาธิปัตย์
6 ถาวร เสนเนียม พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
7 ศิริโชค โสภา พรรคประชาธิปัตย์
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่ พรรคประชาธิปัตย์
สตูล 1 ธานินทร์ ใจสมุทร พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ฮอชาลี ม่าเหร็ม พรรคประชาธิปัตย์
สุราษฎร์ธานี 1 ธานี เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
2 สุเทพ เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 12 พ.ย. 56 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่เนื่องจากมีการประกาศยุบสภา
3 โสภา กาญจนะ พรรคประชาธิปัตย์
4 เชน เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
5 สินิตย์ เลิศไกร พรรคประชาธิปัตย์
6 ธีรภัทร พริ้งศุลกะ พรรคประชาธิปัตย์

ภาคตะวันออก

มีรายนามดังนี้[54]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
จันทบุรี 1 ธวัชชัย อนามพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา พรรคประชาธิปัตย์
3 พงศ์เวช เวชชาชีวะ พรรคประชาธิปัตย์
ฉะเชิงเทรา 1 บุญเลิศ ไพรินทร์ พรรคประชาธิปัตย์
2 สมชัย อัศวชัยโสภณ พรรคเพื่อไทย
3 รส มะลิผล พรรคเพื่อไทย
4 พลตำรวจโท พิทักษ์ จารุสมบัติ พรรคประชาธิปัตย์
ชลบุรี 1 สุชาติ ชมกลิ่น พรรคพลังชล
2 อุกฤษณ์ ตั๊นสวัสดิ์ พรรคพลังชล เลือกตั้งใหม่ 6 มกราคม 2556[55]
ได้รับการเลือกตั้งใหม่
3 รณเทพ อนุวัฒน์ พรรคพลังชล
4 สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคประชาธิปัตย์
5 พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา พรรคพลังชล
6 สุกุมล คุณปลื้ม พรรคพลังชล
7 ปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ พรรคพลังชล
8 พลเรือเอก สุรพล จันทน์แดง พรรคเพื่อไทย
ตราด 1 ธีระ สลักเพชร พรรคประชาธิปัตย์
ปราจีนบุรี 1 อำนาจ วิลาวัลย์ พรรคภูมิใจไทย
2 ชยุต ภุมมะกาญจนะ พรรคชาติไทยพัฒนา
3 เพชรินทร์ เสียงเจริญ พรรคภูมิใจไทย
ระยอง 1 สาธิต ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
2 บัญญัติ เจตนจันทร์ พรรคประชาธิปัตย์
3 ธารา ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
4 วิชัย ล้ำสุทธิ พรรคประชาธิปัตย์
สระแก้ว 1 ฐานิสร์ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
2 ตรีนุช เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
3 สรวงศ์ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันตก

มีรายนามดังนี้[42]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาญจนบุรี 1 พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ พรรคเพื่อไทย
2 ฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร พรรคประชาธิปัตย์
3 สุรพงษ์ ปิยะโชติ พรรคเพื่อไทย
4 ประชา โพธิพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
5 ศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์
ตาก 1 เธียรชัย สุวรรณเพ็ญ พรรคประชาธิปัตย์
2 ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
3 ธนิตพล ไชยนันทน์ พรรคประชาธิปัตย์
ประจวบคีรีขันธ์ 1 มนตรี ปาน้อยนนท์ พรรคประชาธิปัตย์
2 เฉลิมชัย ศรีอ่อน พรรคประชาธิปัตย์
3 ประมวล พงศ์ถาวราเดช พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบุรี 1 อรรถพร พลบุตร พรรคประชาธิปัตย์
2 กัมพล สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์
3 อภิชาติ สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์
ราชบุรี 1 มานิต นพอมรบดี พรรคภูมิใจไทย
2 บุญยิ่ง นิติกาญจนา พรรคภูมิใจไทย
3 ปารีณา ไกรคุปต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
4 ชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร พรรคภูมิใจไทย
5 บุญดำรง ประเสริฐโสภา พรรคภูมิใจไทย

การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

วันที่ เหตุการณ์ พท. ปชป. ภจท. ชทพ. ชพน. พช. รปท. มต. รสต. มช. ปธม. ไม่สังกัดพรรค รวม ว่าง
3 กรกฎาคม 2554 เลือกตั้งทั่วไป 265 159 34 19 7 7 4 2 1 1 1 - 500 -
เปิดสมัยประชุมสภาครั้งที่ 1
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
21 เมษายน 2555 เลือกตั้งซ่อมปทุมธานี เขต 5 264 160 34 19 7 7 4 2 1 1 1 - 500 -
9 กุมภาพันธ์ 2556 เลือกตั้งซ่อมลพบุรี เขต 4 265 160 33 19 7 7 4 2 1 1 1 - 500 -
16 มิถุนายน 2556 เลือกตั้งซ่อมกรุงเทพมหานคร เขต 12 264 161 33 19 7 7 4 2 1 1 1 - 500 -
12 พฤศจิกายน 2556 สส.พรรคประชาธิปัตย์ 8 คนลาออก
ไปเป็นแกนนำ กปปส.
264 153 33 19 7 7 4 2 1 1 1 - 492 8
8 ธันวาคม 2556 สส.พรรคประชาธิปัตย์ทั้งหมดลาออก
ตามด้วยชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
264 - 33 19 7 7 3 2 1 1 1 - 338 162
9 ธันวาคม 2556 ยุบสภาผู้แทนราษฎร 264 33 19 7 7 3 2 1 1 1 - 338 162

คณะกรรมาธิการ

  1. คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน (พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน)
  2. คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร (ไพจิต ศรีวรขาน)
  3. คณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน (เชน เทือกสุบรรณสินิตย์ เลิศไกร)
  4. คณะกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย (สามารถ มะลูลีมอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี)
  5. คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุและผู้พิการ (อรุณี ชำนาญยาสมชัย อัศวชัยโสภณ)
  6. คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ (ฉลาด ขามช่วงเสรี สาระนันท์)
  7. คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ (ชาดา ไทยเศรษฐ์)
  8. คณะกรรมาธิการการคมนาคม (เจือ ราชสีห์วิรัตน์ กัลยาศิริ)
  9. คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ (การุณ โหสกุลสัญชัย วงษ์สุนทร)
  10. คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค (อนุสรณ์ ปั้นทองฉลอง เรี่ยวแรง)
  11. คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน (ไชยา พรหมาชลน่าน ศรีแก้ว)
  12. คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ (สุนัย จุลพงศธร)
  13. คณะกรรมาธิการการตำรวจ (สมชาย โล่สถาพรพิพิธสากล ม่วงศิริ)
  14. คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (ธนิตพล ไชยนันทน์)
  15. คณะกรรมาธิการการทหาร (อำนวย คลังผาสมชาย วิษณุวงศ์)
  16. คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา (ธเนศ เครือรัตน์พีระเพชร ศิริกุล)
  17. คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นริศ ขำนุรักษ์กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์)
  18. คณะกรรมาธิการการปกครอง (ชัย ชิดชอบ)
  19. คณะกรรมาธิการการปกครองส่วนท้องถิ่น (ปวีณ แซ่จึงชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ)
  20. คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด (ประเสริฐ จันทรรวงทองประเสริฐ บุญเรือง)
  21. คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย (สงวน พงษ์มณีนพคุณ รัฐผไท)
  22. คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ (พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์)
  23. คณะกรรมาธิการการพลังงาน (มนตรี ปาน้อยนนท์)
  24. คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน (รัชฎาภรณ์ แก้วสนิทศุภชัย ศรีหล้า)
  25. คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ (ชนินทร์ รุ่งแสงนริศา อดิเทพวรพันธุ์)
  26. คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา (สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์สุรพล เกียรติไชยากร)
  27. คณะกรรมาธิการการแรงงาน (นิทัศน์ ศรีนนท์ทองดี มนิสสาร)
  28. คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัยจตุพร เจริญเชื้อ)
  29. คณะกรรมาธิการการส่งเสริมราคาผลิตผลเกษตรกรรม (ธวัชชัย อนามพงษ์วิชัย ล้ำสุทธิ)
  30. คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์)
  31. คณะกรรมาธิการการศึกษา (ประกอบ รัตนพันธ์สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล)
  32. คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม (นันทนา ทิมสุวรรณไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์)
  33. คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล)
  34. คณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม (ร้อยโท ปรีชาพล พงษ์พานิช)
  35. คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม (ประเสริฐ บุญชัยสุขวรรณรัตน์ ชาญนุกูล)

เกร็ดข้อมูล

  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่อายุมากที่สุด 10 อันดับแรก มีดังนี้ (หมายเหตุ : นับจนถึงวันที 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
# ภาพ รายนาม วันเกิด อายุ เกียรติประวัติ
1 ชัย ชิดชอบ
พรรคภูมิใจไทย
5 เมษายน พ.ศ. 2471 83 ปี • อดีตประธานรัฐสภาและสภาผู้แทนราษฎร
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน
• อดีตสมาชิกวุฒิสภา
2 นิยม วรปัญญา
พรรคเพื่อไทย
8 มิถุนายน พ.ศ. 2473 81 ปี • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
3 อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
พรรคเพื่อไทย
14 ตุลาคม พ.ศ. 2474 79 ปี • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
4 เจริญ คันธวงศ์
พรรคประชาธิปัตย์
21 เมษายน พ.ศ. 2476 78 ปี • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
5 พลตำรวจโทวิโรจน์ เปาอินทร์
พรรคเพื่อไทย
7 ธันวาคม พ.ศ. 2476 77 ปี • อดีตรองนายกรัฐมนตรี
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง
• อดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
6 เสนาะ เทียนทอง
พรรคเพื่อไทย
1 เมษายน พ.ศ. 2477 77 ปี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
• อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
7 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์
พรรคชาติไทยพัฒนา
7 กันยายน พ.ศ. 2478 75 ปี • อดีตรองนายกรัฐมนตรี
• อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
8 ร้อยตรีประพาส ลิมปะพันธุ์
พรรคชาติพัฒนา
20 กันยายน พ.ศ. 2478 75 ปี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
• อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
• อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
9 ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
พรรคภูมิใจไทย
7 มิถุนายน พ.ศ. 2479 75 ปี
• อดีตรักษาการนายกรัฐมนตรี
• อดีตรองนายกรัฐมนตรี
• อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ
10 ไพฑูรย์ แก้วทอง
พรรคประชาธิปัตย์
18 สิงหาคม พ.ศ. 2479 74 ปี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
• อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบบัญชีรายชื่อ

ฉายารัฐสภา

ตำแหน่ง พ.ศ.2554[57] พ.ศ.2555[58] พ.ศ.2556[59]
ดาวเด่น รังสิมา รอดรัศมี วิสุทธิ์ ไชยณรุณ งดตั้งฉายา
(เนื่องจากยุบสภา)
ดาวดับ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ
วรงค์ เดชกิจวิกรม
รังสิมา รอดรัศมี
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร กระดองปูแดง จองล้าง จ้องผลาญ
ฉายาวุฒิสภา สังคโลก ตระแกรง เลือกร่อน
ประธานสภาผู้แทนราษฎร ค้อนปลอม ตราดูไบ ค้อนน้อย หมวกแดง
ประธานวุฒิสภา นายพลถนัดชิ่ง
(ธีรเดช มีเพียร)
ผลัดไม้ สุดท้าย
(นิคม ไวยรัชพานิช)
ผู้นำฝ่ายค้าน หล่อดีเลย์ หล่อ รับ เละ
เหตุการณ์แห่งปี องค์ประชุมรัฐสภาล่ม
วันแถลงนโยบายของรัฐบาล
พิจารณาร่างพ.ร.บ.ปรองดอง
คู่กัดแห่งปี อรรถพร พลบุตร
และ
จตุพร พรหมพันธุ์
ชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์
และ
ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
วาทะแห่งปี “คำวินิจฉัยประธานถือเป็นที่สิ้นสุด
จะผิดหรือถูกเป็นอีกเรื่องหนึ่ง”
(สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์)
เต็มใจเป็นขี้ข้า
(เฉลิม อยู่บำรุง)

อ้างอิง

  1. พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2554ราชกิจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 61ก หน้า 1 วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
  2. สภาฯลงมติเลือก"สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์"นั่งปธ.ตามคาด "ปู"เผยรายชื่อครม.เสร็จแล้ว50%
  3. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (จำนวน 109 คน)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-12. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
  4. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 2)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-12. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
  5. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 3)
  6. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 4)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-14. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
  7. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 5)
  8. "ยงยุทธ วิชัยดิษฐ แถลงลาออกหัวหน้าพรรค และ ส.ส.เพื่อไทย แล้ว". kapook.com. 2012-10-04.
  9. "ปลอดประสพ-ประชา ลาออกจาก ส.ส. แล้ว". kapook.com. 2012-10-31.
  10. Ltd.Thailand, VOICE TV (2012-05-18). "มติศาล รธน. 7 ต่อ 1 "จตุพร"สิ้นสภาพ ส.ส." VoiceTV.
  11. ""ชัจจ์" ลาออกจาก ส.ส. ปัดกดดัน รมต.คนอื่นให้ทำตาม". mgronline.com. 2011-08-23.
  12. "ชัดแล้ว บัณฑูร สุภัควานิช ลาออกจริง". www.thairath.co.th. 2012-02-28.
  13. "วิเชียรลาออกสส.11พค.ชิงนายกฯอบจ.อุดร". posttoday. 2012-05-08.
  14. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  15. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  16. "'แซม'ลาออกส.ส.บัญชีรายชื่อ เลื่อน'บิ๊กแป๊ะ'แทน". www.thairath.co.th. 2013-05-27.
  17. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  18. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  19. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  20. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  21. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
  22. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจานุเบกษา
  23. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (ลำดับที่ 70 พรรคเพื่อไทย 1.นายสรรพภัญญู ศิริไปล์)
  24. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวมาลินี อินฉัตร)
  25. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชินวัฒน์ หาบุญพาด)
  26. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายเอกธนัช อินทร์รอด)
  27. "ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายถิรชัย วุฒิธรรม)" (PDF).
  28. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสมเกียรติ ศรลัมพ์)
  29. มติ ปชป. ลาออก ส.ส. ทั้งพรรค อภิสิทธิ์เรียกร้องให้คืนอำนาจประชาชน
  30. "มะเร็งคร่าชีวิต 'ปัญญวัฒน์ บุญมี' ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ ปชป". www.thairath.co.th. 2013-02-27.
  31. "มะเร็งคร่าชีวิต 'พิชาญเมธ'ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ ปชป". www.thairath.co.th. 2013-03-20.
  32. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์)
  33. ประกาศสภาผู้เทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอิสรา สุนทรวัฒน์)
  34. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต)
  35. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่าง (นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์)
  36. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางมณทิพย์ ศรีรัตนา)
  37. ประกาศสภาผู้เทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์)
  38. "ชูวิทย์ รักษาคำพูดลาออกตามพรรคประชาธิปัตย์". www.sanook.com/news. 2013-12-09.
  39. เปิดสภา รับส.ส.ใหม่คนล่าสุด "สมเพชร แต่งงาม" เสียบแทน พงษ์ศักดิ์ เรือนเงิน
  40. เปิดผลการเลือกตั้ง ส.ส.กรุงเทพ ปชป. 23 เพื่อไทย 10 ที่นั่ง
  41. ด่วน!!! ศาลฎีกาฯเคาะแล้วตัดสิทธิ์ "เก่ง-การุณ"-สั่งเลือกตั้งส.ส.ใหม่?[ลิงก์เสีย]
  42. 42.0 42.1 เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคกลาง "เพื่อไทย"นำ41ที่นั่ง ปชป.ได้25เสียง ภท.-ชทพ.ไล่บี้กัน
  43. 43.0 43.1 เปิดผลคะแนนเลือกตั้ง ส.ส.ภาคเหนือ "พท. 49 - ปชป. 13 - ภท.2"
  44. "ส.ส.เขต 5 ปทุมธานี พรรคเพื่อไทย ลาออก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-07. สืบค้นเมื่อ 2012-03-08.
  45. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
  46. 9 ก.พ.เลือกตั้งซ่อมส.ส.ลพบุรี เลี่ยงตรุษจีนกลัวคนมาใช้สิทธิน้อย
  47. ผู้สมัคร ส.ส. เลือกตั้งซ่อมจังหวัดสุโขทัย เขต 3 ลงพื้นที่หาเสียง[ลิงก์เสีย]
  48. คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (คดีหมายเลขดำที่ อม. 3/2554 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 1/2555 ระหว่างคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้ร้อง นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ ผู้คัดค้าน)
  49. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดเชียงใหม่ นายเกษม นิมมลรัตน์ พรรคเพื่อไทย)
  50. ไรคไตคร่าชีวิต"สถาพร มณีรัตน์"ส.ส.ลำพูนเพื่อไทย
  51. เปิดผลคะแนนภาคอีสาน เพื่อไทยกวาดเรียบเกินร้อยเสียง จาก126เสียง
  52. แจกเหลืองเขต 2 หนองคายเพื่อไทย ลต.ซ่อม 31 ก.ค.
  53. เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคใต้ ประชาธิปัตย์กวาดเรียบ 50 ที่นั่ง พท.ไม่ติดฝุ่น
  54. เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคตะวันออก "พลังชล"มาแรง ฉะเชิงเทรา"เพื่อไทย"โดนปชป.โค่นเรียบ!
  55. ศาลฎีกาสั่งเลือกตั้ง ส.ส.ชลบุรีใหม่ แทน “อุกฤษณ์ ตั้นสวัสดิ์” พรรคพลังชล[ลิงก์เสีย]
  56. "ที่สุด"ของส.ส.ชุดที่ 24 จากมติชนเก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  57. "สื่อสภาฯให้ฉายาปี 54 สภาผู้แทนราษฎร: กระดองปูแดง". Thai PBS.
  58. "สื่อรัฐสภาตั้งฉายา ส.ส."จองล้าง จ้องผลาญ "- ส.ว."ตระแกรง เลือกร่อน"-วาทะแห่งปี "เต็มใจเป็นขี้ข้า"- ดาวเด่น "วิสุทธิ์ ไชยณรุณ"". Thai PBS.
  59. "สื่อสภางดตั้งฉายาปี56". posttoday. 2013-12-30.
Kembali kehalaman sebelumnya