Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสิงห์บุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต1
คะแนนเสียง42,292 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งพลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสิงห์บุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสิงห์บุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายแข วัจนลักขณะ[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสิงห์บุรีและอำเภออินทร์บุรี (ยกเว้นตำบลห้วยชัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางระจัน, อำเภอค่ายบางระจัน, อำเภอพรหมบุรี, อำเภอท่าช้าง และอำเภออินทร์บุรี (เฉพาะตำบลห้วยชัน)
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายแข วัจนลักขณะ
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายอำไพ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 ขุนขจิตสารกรรม
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายทรัพย์ ภานุทัต
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเพียรศักดิ์ นิสสัยสุข

ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคนำไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเพียรศักดิ์ นิสสัยสุข
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายเพียรศักดิ์ นิสสัยสุข
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเพียรศักดิ์ นิสสัยสุข
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายสวัสดิ์ ขวัญเมือง
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายประเจิด สุริย์จามร
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายเพียรศักดิ์ นิสสัยสุข
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 พลตำรวจโท สืบ พงษ์สุวรรณ
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พันเอก บุลศักดิ์ โพธิเจริญ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 พันเอก บุลศักดิ์ โพธิเจริญ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 พลตำรวจโท ธนู หอมหวล
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา

ชุดที่ 21; พ.ศ. 2544

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544
1 นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์
2 นายพายัพ ปั้นเกตุ ( / เลือกตั้งซ่อม)

ชุดที่ 22–26; พ.ศ. 2548–2566

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 22[3] พ.ศ. 2548 นายพายัพ ปั้นเกตุ ( / เลือกตั้งซ่อม)
ชุดที่ 23[4] พ.ศ. 2550 นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายโชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ (แทนนายชัยวุฒิ)
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายสุรสาล ผาสุข
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายโชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya