Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดน่าน
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง121,439 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดน่าน มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดน่านมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าจำรัส มหาวงศนันทน์

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองน่าน, อำเภอท่าวังผา (ยกเว้นตำบลจอมพระและตำบลยม) และกิ่งอำเภอภูเพียง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหลวง, อำเภอเวียงสา, อำเภอนาน้อย, อำเภอนาหมื่น, อำเภอแม่จริม และอำเภอสันติสุข
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปัว, อำเภอเชียงกลาง, อำเภอสองแคว, อำเภอทุ่งช้าง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอบ่อเกลือ และอำเภอท่าวังผา (เฉพาะตำบลจอมพระและตำบลยม)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองน่าน, อำเภอภูเพียง และอำเภอท่าวังผา (ยกเว้นตำบลจอมพระและตำบลยม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหลวง, อำเภอเวียงสา, อำเภอนาน้อย, อำเภอนาหมื่น, อำเภอแม่จริม และอำเภอสันติสุข
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปัว, อำเภอเชียงกลาง, อำเภอสองแคว, อำเภอทุ่งช้าง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอบ่อเกลือ และอำเภอท่าวังผา (เฉพาะตำบลจอมพระและตำบลยม)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองน่าน, อำเภอภูเพียง และอำเภอท่าวังผา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหลวง, อำเภอเวียงสา, อำเภอนาน้อย, อำเภอนาหมื่น, อำเภอแม่จริม และอำเภอสันติสุข
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปัว, อำเภอเชียงกลาง, อำเภอสองแคว, อำเภอทุ่งช้าง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอบ่อเกลือ
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 เจ้าจำรัส มหาวงศนันท์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายสมบูรณ์ บัณฑิต
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายมานพ ประทุมอิน (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 เจ้าจำรัส มหาวงศนันท์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 เจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายสมบูรณ์ บัณฑิต
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสมบูรณ์ บัณฑิต

ชุดที่ 10–13; พ.ศ. 2512–2522

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสมบูรณ์ บัณฑิต นายสมบูรณ์ บัณฑิต นายทวี บุญชื่อ นายคำรณ ณ ลำพูน
นายสมชาย โลหะโชติ นายประเสริฐ ทุ่งสี่ นายสมชาย โลหะโชติ นายสุชาติ คำนันท์

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539

      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสมชาย โลหะโชติ นายวัลลภ สุปริยศิลป์ นายคำรณ ณ ลำพูน
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นางสาวพูนสุข โลหะโชติ นายเดช วงศ์เทพ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายวัลลภ สุปริยศิลป์ นายเดช วงศ์เทพ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายวัลลภ สุปริยศิลป์ พลเอกสนั่น เศวตเศรนี
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายพงษ์พัฒน์ ธีรประเทืองกุล นายคำรณ ณ ลำพูน
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 พลเอก สนั่น เศวตเศรนี นายวัลลภ สุปริยศิลป์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นางสาวพูนสุข โลหะโชติ นายวัลลภ สุปริยศิลป์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายคำรณ ณ ลำพูน นางสิรินทร รามสูต
2 นายชลน่าน ศรีแก้ว
3 นายวัลลภ สุปริยศิลป์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชลน่าน ศรีแก้ว
นางสิรินทร รามสูต
นายวัลลภ สุปริยศิลป์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นางสิรินทร รามสูต นายชลน่าน ศรีแก้ว นายณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายทรงยศ รามสูต

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya