Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดพิษณุโลก
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต5
คะแนนเสียง123,613 (เพื่อไทย)
123,037 (ก้าวไกล) [a]
62,743 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
ประชาชน (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดพิษณุโลก มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพิษณุโลกมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์)[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ และอำเภอบางกระทุ่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอวังทอง
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และกิ่งอำเภอเนินมะปราง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม (เฉพาะตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง, อำเภอเนินมะปราง และอำเภอพรหมพิราม (ยกเว้นตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง)
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง และตำบลพลายชุมพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลบ้านป่า และตำบลมะขามสูง), อำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา และตำบลหนองพระ) และอำเภอบางกระทุ่ม (เฉพาะตำบลท่าตาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลบ้านป่าและตำบลมะขามสูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางระกำและอำเภอบางกระทุ่ม (ยกเว้นตำบลท่าตาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลบ้านกลาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเนินมะปรางและอำเภอวังทอง (ยกเว้นตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา ตำบลหนองพระ และตำบลบ้านกลาง)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริก ตำบลวังน้ำคู้ ตำบลงิ้วงาม ตำบลท่าโพธิ์ ตำบลท่าทอง และตำบลบ้านกร่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังทอง (ยกเว้นตำบลวังนกแอ่น ตำบลท่าหมื่นราม ตำบลพันชาลี ตำบลหนองพระ และตำบลแม่ระกา) และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลสมอแข ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลจอมทอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลหัวรอ และตำบลอรัญญิก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลพันชาลี ตำบลหนองพระ และตำบลแม่ระกา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครไทย, อำเภอเนินมะปราง และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลวังนกแอ่นและตำบลท่าหมื่นราม)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลท่าทอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริก และตำบลวังน้ำคู้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพรหมพิรามและอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน ตำบลบ้านกร่าง ตำบลจอมทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทอง และตำบลสมอแข)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังทองและอำเภอเนินมะปราง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางกระทุ่ม, อำเภอบางระกำ และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลท่าโพธิ์และตำบลงิ้วงาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอชาติตระการ และอำเภอนครไทย
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 หลวงสุทธิวุฒินฤเบศร์ (เจริญ สัตจอง)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ขุนคุปตพงษ์ประพันธ์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 พระยาสุนทรพิพิธ (เชย สุนทรพิพิธ)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายดุม อินทุวงศ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์
พ.ศ. 2492 นายสานนท์ สายสว่าง (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
1 นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี
ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ นายอุทัย แสงศิริ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคอิสระ
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายโกศล ไกรฤกษ์
2 นายสุชน ชามพูนท
3 นายอนันต์ ภักดิ์ประไพ

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

      พรรคไท (พ.ศ. 2517)
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายอนันต์ ภักดิ์ประไพ นายสุชน ชามพูนท
นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี
2 นายสุรปาณี ไกรฤกษ์ นายโกศล ไกรฤกษ์
นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา

ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535

      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ นายโกศล ไกรฤกษ์ นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสุชน ชามพูนท นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสมพงษ์ พลไวย์ นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายอุดมศักดิ์ อุชชิน นายโกศล ไกรฤกษ์ นายจุติ ไกรฤกษ์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายอุดมศักดิ์ อุชชิน นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายสุชน ชามพูนท นายพิษณุ พลไวย์ นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคนำไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชากรไทยพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 พลเอกศิริ ทิวะพันธุ์ นายพิษณุ พลไวย์
นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ
นายสุชน ชามพูนท
2 นายจุติ ไกรฤกษ์
นายอุดมศักดิ์ อุชชิน นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์
นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา นายวรงค์ เดชกิจวิกรม
2 นายพิษณุ พลไวย์ นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์
3 นางมยุรา มนะสิการ
4 นายสุชน ชามพูนท นายนิยม ช่างพินิจ
5 นายนคร มาฉิม
6 นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ (เสียชีวิต) นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์
นายจุติ ไกรฤกษ์ (แทนนายวีระ)

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายวรงค์ เดชกิจวิกรม
นายนิยม ช่างพินิจ
นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์
2 นายนคร มาฉิม
นายจุติ ไกรฤกษ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคก้าวไกลพรรคเป็นธรรม
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวรงค์ เดชกิจวิกรม นายปดิพัทธ์ สันติภาดา นายปดิพัทธ์ สันติภาดา
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี)
นายจเด็ศ จันทรา
(แทนนายปดิพัทธ์)
2 นายนพพล เหลืองทองนารา
3 นายจุติ ไกรฤกษ์ นายอนุชา น้อยวงศ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายพงษ์มนู ทองหนัก
4 นายนิยม ช่างพินิจ นายนิยม ช่างพินิจ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวพิมพ์พิชชา ชัยศุภกิจเจริญ
5 นายนคร มาฉิม นายมานัส อ่อนอ้าย นายศุภปกรณ์ กิตยาธิคุณ

รูปภาพ

เชิงอรรถ

  1. อ้างอิงจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ในครั้งนั้นนายปดิพัทธ์ สันติภาดายังเป็นผู้สมัครจากพรรคก้าวไกล

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

Kembali kehalaman sebelumnya