Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนครสวรรค์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต6
คะแนนเสียง148,535 (ภูมิใจไทย)
135,332 (เพื่อไทย)
115,480 (ก้าวไกล)
69,305 (รวมไทยสร้างชาติ)
24,089 (ชาติพัฒนากล้า)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (2)
เพื่อไทย (1)
ประชาชน (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
ชาติพัฒนากล้า (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนครสวรรค์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครสวรรค์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสวัสดิ์ ยูวะเวส[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปากน้ำโพ, อำเภอโกรกพระ, อำเภอลาดยาว และอำเภอบรรพตพิสัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแสง, อำเภอท่าตะโก, อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอตาคลี
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอโกรกพระ, อำเภอลาดยาว, อำเภอบรรพตพิสัย และอำเภอเก้าเลี้ยว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแสง, อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก, อำเภอไพศาลี, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอตาคลี และอำเภอตากฟ้า
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว และอำเภอโกรกพระ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว, อำเภอโกรกพระ และกิ่งอำเภอแม่วงก์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว, อำเภอโกรกพระ, กิ่งอำเภอแม่วงก์ และกิ่งอำเภอแม่เปิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลปากน้ำโพ ตำบลนครสวรรค์ตก ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลวัดไทร ตำบลบึงเสนาท ตำบลบางม่วง ตำบลหนองกรด และตำบลหนองกระโดน]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบางพระหลวงและตำบลบ้านมะเกลือ), อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลกลางแดด ตำบลหนองปลิง ตำบลพระนอน ตำบลแควใหญ่ และตำบลเกรียงไกร], อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอโกรกพระ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบ้านแก่ง), อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว และอำเภอลาดยาว (เฉพาะตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอไพศาลี, อำเภอหนองบัว และอำเภอตากฟ้า (เฉพาะตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอตาคลีและอำเภอตากฟ้า (ยกเว้นตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่วงก์, อำเภอลาดยาว (ยกเว้นตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่), กิ่งอำเภอชุมตาบง และกิ่งอำเภอแม่เปิน
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอท่าตะโก, อำเภอโกรกพระ และอำเภอชุมแสง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอลาดยาว, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลปากน้ำโพ ตำบลนครสวรรค์ตก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลวัดไทร ตำบลแควใหญ่ (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลบ้านแก่ง ตำบลบ้านมะเกลือ ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน ตำบลบางม่วง และตำบลบึงเสนาท]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลนครสวรรค์ตก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลแควใหญ่ (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลบางพระหลวง ตำบลเกรียงไกร ตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง และตำบลกลางแดด], อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอโกรกพระ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอชุมแสง และอำเภอเก้าเลี้ยว
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอไพศาลี, อำเภอหนองบัว และอำเภอท่าตะโก (เฉพาะตำบลทำนบ ตำบลดอนคา ตำบลพนมรอก ตำบลพนมเศษ ตำบลสายลำโพง และตำบลวังใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอท่าตะโก (เฉพาะตำบลหนองหลวง ตำบลหัวถนน ตำบลวังมหากร และตำบลท่าตะโก)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลาดยาว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเก้าเลี้ยว (เฉพาะตำบลมหาโพธิ), อำเภอลาดยาว (เฉพาะตำบลหนองยาว) และอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน ตำบลบ้านแก่ง ตำบลวัดไทร ตำบลบางม่วง ตำบลบ้านมะเกลือ ตำบลบึงเสนาท ตำบลปากน้ำโพ ตำบลแควใหญ่ (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) และตำบลนครสวรรค์ตก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอโกรกพระ, อำเภอชุมแสง (เฉพาะตำบลทับกฤชใต้) และอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลบางพระหลวง ตำบลเกรียงไกร ตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลกลางแดด ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลนครสวรรค์ตก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) และตำบลแควใหญ่ (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์)]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว (ยกเว้นตำบลมหาโพธิ) และอำเภอชุมแสง (ยกเว้นตำบลทับกฤชใต้)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก และอำเภอไพศาลี (ยกเว้นตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอไพศาลี (เฉพาะตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน, อำเภอชุมตาบง และอำเภอลาดยาว (ยกเว้นตำบลหนองยาว)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (ยกเว้นตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน และตำบลบ้านแก่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกรกพระ, อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน และตำบลบ้านแก่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว และอำเภอชุมแสง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก และอำเภอไพศาลี (ยกเว้นตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอไพศาลี (เฉพาะตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลาดยาว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง
6 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
นายสวัสดิ์ ยูวะเวส

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายอรุณ แสงสว่างวัฒนะ พันตรี หลวงขจรกลางสนาม (ขจร มังกรสุต) นายเกษม บุญศรี นายสวัสดิ์ คำประกอบ
2 ขุนอนุกูรประชากร (วงษ์ พยัคฆวิเชียร) ขุนอนุกูรประชากร (วงษ์ พยัคฆวิเชียร)
(เสียชีวิต)
นายใหญ่ ศวิตชาติ (แทนขุนอนุกูรประชากร)
นายใหญ่ ศวิตชาติ

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเกษม บุญศรี
นายใหญ่ ศวิตชาติ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายสวัสดิ์ คำประกอบ
2 นางสุนีรัตน์ เตลาน
3 ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์)

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายสวัสดิ์ คำประกอบ
นายพิชัย มากคุณ ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์)
นายวสันต์ อินทรสูต นายอวยชัย ธนศรี
นายใหญ่ ศวิตชาติ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายสวัสดิ์ คำประกอบ
2 นายใหญ่ ศวิตชาติ
3 ร้อยตำรวจเอก วิชัย ฉายประเสริฐ
4 นายประเทือง คำประกอบ
5 นายพิชัย มากคุณ

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคไทสังคม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายประสงค์ วงษ์สุนทร นายธเนศ เตลาน นายประสงค์ วงษ์สุนทร
นายประวัติ เนียรภาค นายไชยศิริ ธีรัทธานนท์ นายประวัติ เนียรภาค
นายใหญ่ ศวิตชาติ นายดำรงพันธุ์ อสุนี ณ อยุธยา นายดำรงพันธุ์ อสุนี ณ อยุธยา
2 นายวสันต์ อินทรสูต นายใหญ่ ศวิตชาติ นายวสันต์ อินทรสูต
นายสวัสดิ์ คำประกอบ
นายประเทือง คำประกอบ นายวิเชียร อยู่สิงห์ นายประเทือง คำประกอบ

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539

      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคเอกภาพ
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวีระกร คำประกอบ นายธเนศ เตลาน นายวีระกร คำประกอบ นายวีระกร คำประกอบ นายวีระกร คำประกอบ นายวีระกร คำประกอบ
นายดิเรก สกุณาธวงศ์ นายประสาท ตันประเสริฐ นายสนอง รอดโพธิ์ทอง นายภิญโญ นิโรจน์ นายภิญโญ นิโรจน์
นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา นายประสาท ตันประเสริฐ นายสมควร โอบอ้อม นายประสาท ตันประเสริฐ
2 นายประสงค์ วงษ์สุนทร นายบุญชู โรจนเสถียร นายบุญชู โรจนเสถียร นายบุญชู โรจนเสถียร นายบุญชู โรจนเสถียร
นายวสันต์ อินทรสูต นายวสันต์ อินทรสูต นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายสุนัย จุลพงศธร
3 นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายวิจิตร แจ่มใส นายวิจิตร แจ่มใส นายประเทือง คำประกอบ นายวิจิตร แจ่มใส
นายประเทือง คำประกอบ นายประเทือง คำประกอบ นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548
1 นายภิญโญ นิโรจน์ นายสมชัย เจริญชัยฤทธิ์
2 นายเกษม ปานอุดมลักษณ์ นายเกษม ปานอุดมลักษณ์
3 นายสมควร โอบอ้อม นายวีระกร คำประกอบ
4 นายสัญชัย วงษ์สุนทร
5 นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
6 พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
7 นายนิโรธ สุนทรเลขา นายนิโรธ สุนทรเลขา

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาราช
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550
1 นายสมควร โอบอ้อม
นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร
นายสมชัย เจริญชัยฤทธิ์
2 นายนิโรธ สุนทรเลขา
นายสัญชัย วงษ์สุนทร
3 นายพีระเดช ศิริวันสาณฑ์
พันตำรวจโท นุกูล แสงศิริ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน → พรรคชาติพัฒนา
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคชาติพัฒนากล้า → พรรคชาติพัฒนา
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร นายภิญโญ นิโรจน์ นายกฤษฐ์หิรัญ เลิศอุฤทธิ์ภักดี
2 นายดิสทัต คำประกอบ นายวีระกร คำประกอบ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย
3 นายสัญชัย วงษ์สุนทร นายสัญญา นิลสุพรรณ นายสัญญา นิลสุพรรณ
4 พันตำรวจโท นุกูล แสงศิริ นายมานพ ศรีผึ้ง
5 นายทายาท เกียรติชูศักดิ์ นายพีระเดช ศิริวันสาณฑ์
6 นายประสาท ตันประเสริฐ นายนิโรธ สุนทรเลขา นายประสาท ตันประเสริฐ

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
  4. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  5. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  6. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya