Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดกาญจนบุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต5
คะแนนเสียง177,470 (เพื่อไทย)
81,643 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (4)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดกาญจนบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดกาญจนบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย และอำเภอเลาขวัญ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ และกิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, กิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, กิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และกิ่งอำเภอห้วยกระเจา
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และกิ่งอำเภอห้วยกระเจา
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน (ยกเว้นตำบลรางหวาย) และอำเภอท่าม่วง (ยกเว้นตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอท่าม่วง (เฉพาะตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเลาขวัญ, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอห้วยกระเจา และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลรางหวาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอหนองปรือ
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอห้วยกระเจา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และอำเภอด่านมะขามเตี้ย
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรีและอำเภอไทรโยค (เฉพาะตำบลศรีมงคล)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าม่วง, อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลหนองโรง ตำบลทุ่งสมอ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย) และอำเภอบ่อพลอย (เฉพาะตำบลหนองกุ่ม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลพังตรุ ตำบลพนมทวน ตำบลดอนตาเพชร และตำบลรางหวาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ, อำเภอบ่อพลอย (ยกเว้นตำบลหนองกุ่ม) และอำเภอศรีสวัสดิ์ (เฉพาะตำบลเขาโจด)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค (ยกเว้นตำบลศรีมงคล) และอำเภอศรีสวัสดิ์ (ยกเว้นตำบลเขาโจด)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรีและอำเภอศรีสวัสดิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ยและอำเภอท่าม่วง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอบ่อพลอย
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอไทรโยค, อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี
แผนที่เขตเลือกตั้งจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2562
แผนที่เขตเลือกตั้งจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2562
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี (ยกเว้นตำบลบ้านเก่า) และอำเภอบ่อพลอย (เฉพาะตำบลหนองกุ่ม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอท่าม่วง และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลหนองโรง ตำบลทุ่งสมอ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลพังตรุ ตำบลพนมทวน ตำบลดอนตาเพชร และตำบลรางหวาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอบ่อพลอย (ยกเว้นตำบลหนองกุ่ม)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอไทรโยค และอำเภอเมืองกาญจนบุรี (เฉพาะตำบลบ้านเก่า)
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายพิพัฒน์ (เต็ก) ภังคานนท์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายจำลอง ธนโสภณ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายทอง สุดออมสิน (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสวัสดิ์ สาระสาลิน
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายฉาย วิโรจน์ศิริ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายฉาย วิโรจน์ศิริ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายแผน สิริเวชชะพันธ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นางจินดา อังศุโชติ
นายบุญเทียม ประสมศักดิ์

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายแผน สิริเวชชะพันธ์ นายแผน สิริเวชชะพันธ์ พลโท ชาญ อังศุโชติ
พลโท ชาญ อังศุโชติ นายยงยุทธ ตันพิริยะกุล นางสมทรง จันทาภากุล
นายฉิม ชอบธรรม นายประวิทย์ วอนเพียร นายชวิน เป้าอารีย์

ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535

      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจประชาคม
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคพลังธรรม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ พลโท ชาญ อังศุโชติ นายเรวัต ศิริศิลวัตนุกุล นางจินดา อังศุโชติ
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายคงศักดิ์ กลีบบัว นายเรวัต สิรินุกุล นางสมทรง จันทาภากุล
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ นายเรวัต สิรินุกุล นายชวิน เป้าอารีย์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นาวาโท เดชา สุขารมณ์ นายสันทัด จีนาภักดิ์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20 ; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคนำไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 พลตรี ศรชัย มนตริวัต พลตรี ศรชัย มนตริวัต
นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ
นาวาโท เดชา สุขารมณ์
2 นายประชา โพธิพิพิธ
นายเรวัต สิรินุกุล

ชุดที่ 21–22 ; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นาวาโท เดชา สุขารมณ์
( / เลือกตั้งใหม่)
พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์
2 นายสันทัด จีนาภักดิ์
3 นายเรวัต สิรินุกุล
( / เลือกตั้งใหม่)
นายปารเมศ โพธารากุล
นายเรวัต สิรินุกุล
(แทนนายปารเมศ)
4 นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร
( / เลือกตั้งใหม่)
นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร
5 นายประชา โพธิพิพิธ
( / เลือกตั้งใหม่ / )
พลโท มะ โพธิ์งาม
พลตรี ศรชัย มนตริวัต
(แทนนายประชา)

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 พลโท มะ โพธิ์งาม
พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์
นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ
2 นายปารเมศ โพธารากุล
นายสันทัด จีนาภักดิ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายอัครนันท์ กัณณ์กิตตินันท์
2 นายฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร นายสมเกียรติ วอนเพียร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายชูศักดิ์ แม้นทิม
3 นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ นายยศวัฒน์ มาไพศาลสิน
4 นายประชา โพธิพิพิธ นายธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป์
5 นางศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายพนม โพธิ์แก้ว

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya