สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์
จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นกาฬสินธุ์ยังเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม
ปี พ.ศ. 2490 กาฬสินธุ์ยกฐานะขึ้นมาเป็นจังหวัด และในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2491 จังหวัดกาฬสินธุ์ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกว้าง ทองทวี
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 7 สมัย ได้แก่ นายสังข์ทอง ศรีธเรศ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ คือ นางสมพงษ์ อยู่หุ่น (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2491 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/1 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
4 คน (เขตละ 4 คน)
|
พ.ศ. 2518 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอท่าคันโท, อำเภอยางตลาด, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอกมลาไสย, กิ่งอำเภอหนองกุงศรี, กิ่งอำเภอห้วยเม็ก และกิ่งอำเภอร่องคำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และกิ่งอำเภอนามน |
|
4 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2519 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอนามน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, กิ่งอำเภอหนองกุงศรี, กิ่งอำเภอห้วยเม็ก และกิ่งอำเภอคำม่วง |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2522 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอนามน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง และกิ่งอำเภอหนองกุงศรี |
|
พ.ศ. 2526 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ, กิ่งอำเภอนามน และกิ่งอำเภอห้วยผึ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง และอำเภอหนองกุงศรี |
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน และกิ่งอำเภอห้วยผึ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี และกิ่งอำเภอร่องคำ |
|
6 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน และอำเภอห้วยผึ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี และกิ่งอำเภอร่องคำ |
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง และกิ่งอำเภอนาคู · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอสามชัย |
|
พ.ศ. 2539 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, กิ่งอำเภอนาคู และกิ่งอำเภอดอนจาน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอสามชัย |
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ (เฉพาะตำบลหนองแวง) และอำเภอนามน (เฉพาะตำบลยอดแกง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลเจ้าท่าและตำบลธัญญา), อำเภอยางตลาด (ยกเว้นตำบลเว่อและตำบลเขาพระนอน) และกิ่งอำเภอฆ้องชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอท่าคันโท, อำเภอห้วยเม็ก และอำเภอยางตลาด (เฉพาะตำบลเว่อและตำบลเขาพระนอน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสมเด็จ (ยกเว้นตำบลหนองแวง), อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอคำม่วง และกิ่งอำเภอสามชัย · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุฉินารายณ์ (เฉพาะตำบลเหล่าใหญ่และตำบลแจนแลน), อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอนามน (ยกเว้นตำบลยอดแกง), อำเภอร่องคำ อำเภอกมลาไสย (ยกเว้นตำบลเจ้าท่าและตำบลธัญญา) และกิ่งอำเภอดอนจาน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์ (ยกเว้นตำบลเหล่าใหญ่และตำบลแจนแลน), อำเภอเขาวง และกิ่งอำเภอนาคู |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี และอำเภอฆ้องชัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอร่องคำ, อำเภอคำม่วง, อำเภอนาคู, อำเภอสามชัย และอำเภอดอนจาน |
|
6 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาดและอำเภอฆ้องชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอห้วยเม็ก และอำเภอท่าคันโท · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสมเด็จ, อำเภอคำม่วง, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอสามชัย · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอดอนจาน และอำเภอร่องคำ · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และอำเภอนาคู |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอร่องคำ และอำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลโคกสมบูรณ์ ตำบลโพนงาม ตำบลดงลิง และตำบลเจ้าท่า) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอฆ้องชัย และอำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลหนองแปน ตำบลกมลาไสย ตำบลหลักเมือง และตำบลธัญญา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอท่าคันโท และอำเภอสหัสขันธ์ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชัย, อำเภอคำม่วง, อำเภอสมเด็จ, อำเภอนามน และอำเภอดอนจาน · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนาคู และอำเภอห้วยผึ้ง |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ (เฉพาะตำบลหนองแวง) และอำเภอนามน (เฉพาะตำบลยอดแกง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอฆ้องชัยและอำเภอยางตลาด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี และอำเภอท่าคันโท · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอสามชัย, อำเภอคำม่วง และอำเภอสมเด็จ (ยกเว้นตำบลหนองแวง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอร่องคำ, อำเภอกมลาไสย, อำเภอดอนจาน, อำเภอห้วยผึ้ง และอำเภอนามน (ยกเว้นตำบลยอดแกง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และอำเภอนาคู |
|
6 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 5 ; พ.ศ. 2491–2492
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
- พรรคอิสระ
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคกิจสังคม
ชุดที่ 12–15 ; พ.ศ. 2519–2529
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคชาติประชาธิปไตย - พรรคกิจสังคม
ชุดที่ 16–20; พ.ศ. 2531–2539
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาชน → พรรคชาติไทย
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคชาติไทย
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคความหวังใหม่ → พรรคไทยรักไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคกล้าธรรม
- พรรคภูมิใจไทย
รูปภาพ
-
นายสุปัน พูลพัฒน์
-
นายขุนทอง ภูผิวเดือน
-
นายใหม่ ศิรินวกุล
-
นายสังข์ทอง ศรีธเรศ
-
นายชิงชัย มงคลธรรม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|
|