Share to:

 

เทศบาลเมืองระนอง

เทศบาลเมืองระนอง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันThetsaban Mueang Ranong
ถนนในเมืองระนอง
ถนนในเมืองระนอง
ทม.ระนองตั้งอยู่ในจังหวัดระนอง
ทม.ระนอง
ทม.ระนอง
ที่ตั้งของเทศบาลเมืองระนอง
ทม.ระนองตั้งอยู่ในภาคใต้ (ประเทศไทย)
ทม.ระนอง
ทม.ระนอง
ทม.ระนอง (ภาคใต้ (ประเทศไทย))
ทม.ระนองตั้งอยู่ในประเทศไทย
ทม.ระนอง
ทม.ระนอง
ทม.ระนอง (ประเทศไทย)
พิกัด: 9°57′43″N 98°38′20″E / 9.96194°N 98.63889°E / 9.96194; 98.63889
ประเทศ ไทย
จังหวัดระนอง
อำเภอเมืองระนอง
จัดตั้ง14 มีนาคม 2479 (เทศบาลเมือง)
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีพินิจ ตันกุล
พื้นที่
 • ทั้งหมด4.285 ตร.กม. (1.654 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)[1]
 • ทั้งหมด18,720 คน
 • ความหนาแน่น4,368.72 คน/ตร.กม. (11,314.9 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.04850102
ที่อยู่
สำนักงาน
36 ถนนเพิ่มผล ตำบลเขานิเวศน์ อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง 85000
เว็บไซต์www.ranongcity.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ระนอง เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งที่เป็นเมืองศูนย์กลางของอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เทศบาลมีพื้นที่ครอบคลุมตำบลเขานิเวศน์ทั้งตำบล ได้ยกฐานะจากสุขาภิบาลระนองเป็นเทศบาลเมือง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2479 โดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองระนอง[2] ซึ่งขณะนั้นมีรายได้ประมาณ 30,000 บาทต่อปี[3]

ภูมิศาสตร์

ที่ตั้งและอาณาเขต

เทศบาลเมืองระนองตั้งอยู่ในอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลเขานิเวศน์ทั้งตำบล มีเนื้อที่ 4.285 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้[3]

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเทศบาลตำบลบางนอน
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น เทศบาลตำบลบางนอน และองค์การบริหารส่วนตำบลหาดส้มแป้น
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น และเทศบาลตำบลปากน้ำท่าเรือ

ภูมิประเทศ

เมืองระนองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำกระบุรี หรือแม่น้ำปากจั่น อยู่ตรงข้ามกันกับวิกตอเรียพอยต์ของประเทศพม่า มีเทือกเขาตะนาวศรีพาดผ่านทางตะวันออกของเมือง และมีสันเขาเล็ก ๆ พาดผ่านจากบริเวณปากน้ำไปทางทิศเหนือของเมือง

ภูมิอากาศ

เมืองระนองมีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (เคิพเพิน Am) โดยมีความแปรผันของอุณหภูมิเพียงเล็กน้อย

ข้อมูลภูมิอากาศของระนอง (1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 36.4
(97.5)
38.3
(100.9)
39.6
(103.3)
39.1
(102.4)
38.7
(101.7)
35.3
(95.5)
34.8
(94.6)
34.0
(93.2)
34.5
(94.1)
35.2
(95.4)
35.4
(95.7)
35.0
(95)
39.6
(103.3)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 32.8
(91)
34.1
(93.4)
35.0
(95)
34.6
(94.3)
32.4
(90.3)
31.2
(88.2)
30.8
(87.4)
30.5
(86.9)
30.5
(86.9)
31.0
(87.8)
31.4
(88.5)
31.7
(89.1)
32.2
(90)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 26.7
(80.1)
27.5
(81.5)
28.4
(83.1)
28.8
(83.8)
27.7
(81.9)
27.3
(81.1)
26.9
(80.4)
26.8
(80.2)
26.4
(79.5)
26.4
(79.5)
26.5
(79.7)
26.3
(79.3)
27.1
(80.8)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 21.9
(71.4)
22.2
(72)
23.4
(74.1)
24.6
(76.3)
24.7
(76.5)
24.5
(76.1)
24.3
(75.7)
24.2
(75.6)
23.9
(75)
23.6
(74.5)
23.3
(73.9)
22.4
(72.3)
23.6
(74.5)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 16.5
(61.7)
16.1
(61)
18.5
(65.3)
19.8
(67.6)
22.3
(72.1)
21.8
(71.2)
21.4
(70.5)
21.6
(70.9)
21.4
(70.5)
20.2
(68.4)
19.3
(66.7)
16.5
(61.7)
16.1
(61)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 10.0
(0.394)
16.0
(0.63)
65.2
(2.567)
152.6
(6.008)
496.6
(19.551)
649.4
(25.567)
620.7
(24.437)
789.1
(31.067)
646.5
(25.453)
424.5
(16.713)
151.3
(5.957)
45.5
(1.791)
4,068.4
(160.173)
ความชื้นร้อยละ 72 70 71 76 83 84 85 86 86 85 80 75 79
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 3.3 3.5 6.5 11.8 23.8 24.4 25.5 27.4 25.2 23.8 14.5 5.8 195.5
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 232.5 214.7 201.5 183.0 155.0 114.0 114.7 114.7 108.0 145.7 174.0 195.3 1,953.1
แหล่งที่มา 1: กรมอุตุนิยมวิทยา[4]
แหล่งที่มา 2: Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department (sun and humidity)[5]

อ้างอิง

  1. "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2561 ท้องถิ่นเทศบาลเมืองระนอง". ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองระนอง จังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๔๗๙" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 53: 1309–1314. 14 มีนาคม 2479.
  3. 3.0 3.1 "สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญของเทศบาลเมืองระนอง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-04-28.
  4. "Climatological Data for the Period 1981–2010". Thai Meteorological Department. pp. 26–27. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.
  5. "ปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิงโดยวิธีของ Penman Monteith (Reference Crop Evapotranspiration by Penman Monteith)" (PDF). Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department. p. 105. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-01. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia

Kembali kehalaman sebelumnya