Share to:

 

ประเทศอาร์มีเนีย

สาธารณรัฐอาร์มีเนีย

เพลงชาติแมร์ฮัยแรนิค
("ปิตุภูมิของเรา")
ที่ตั้งของอาร์มีเนีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เยเรวาน
40°11′N 44°31′E / 40.183°N 44.517°E / 40.183; 44.517
ภาษาราชการอาร์มีเนีย[1]
กลุ่มชาติพันธุ์
(2011)
ศาสนา
คริสต์ (คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย)[4]
เดมะนิมชาวอาร์มีเนีย
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐ
วาฮาก์น คาชาทุรยาน
นีกอล พาชินยัน
อาเลน ซีมอนยัน
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
ก่อตั้ง
ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช
190 ปีก่อนคริสต์ศักราช
ค.ศ. 52–428
ค.ศ. 885–1045
ค.ศ. 1198–1375
28 พฤษภาคม ค.ศ. 1918
29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920
23 กันยายน ค.ศ. 1991
21 ธันวาคม ค.ศ. 1991
2 มีนาคม ค.ศ. 1992
5 กรกฎาคม ค.ศ. 1995
พื้นที่
• รวม
29,743 ตารางกิโลเมตร (11,484 ตารางไมล์) (อันดับที่ 138)
4.71[7]
ประชากร
• ค.ศ. 2022 ประมาณ
3,000,756[8] (อันดับที่ 138)
101.5 ต่อตารางกิโลเมตร (262.9 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) ค.ศ. 2022 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 49.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 120)
เพิ่มขึ้น 16,798 ดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 90)
จีดีพี (ราคาตลาด) ค.ศ. 2022 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 17.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 129)
เพิ่มขึ้น 5,972 ดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 99)
จีนี (ค.ศ. 2019)positive decrease 29.9[10]
ต่ำ
เอชดีไอ (ค.ศ. 2021)เพิ่มขึ้น 0.759[11]
สูง · อันดับที่ 85
สกุลเงินดรัม  (֏) (AMD)
เขตเวลาUTC+4 (เวลาในประเทศอาร์มีเนีย)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+374
โดเมนบนสุด
เว็บไซต์
www.gov.am

อาร์มีเนีย[12] หรือ อาร์เมเนีย[13] (อังกฤษ: Armenia, ออกเสียง: /ɑː (r) ˈmiːniə/; อาร์มีเนีย: Հայաստան [hɑjɑsˈtɑn] ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (อังกฤษ: Republic of Armenia; อาร์มีเนีย: Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต

ประวัติศาสตร์

แผนที่สมัยราชอาณาจักรอาร์มีเนีย

ราชอาณาจักรอาร์มีเนีย เข้ายึดครองซีเรียและทางตะวันออกของจักรวรรดิออตโตมัน และเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียจนประกาศเอกราชในปี ค.ศ. 1918 จากนั้นกองทัพแดง ของสหภาพโซเวียต ได้ยึดครองเป็นรัฐส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตภายใต้ชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย และเอกราชเมื่อค.ศ. 1991

การเมือง

ระบบการเมืองของอาร์มีเนียเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข

สถาบันทางการเมือง

ฝ่ายนิติบัญญัติ
เป็นระบบสภาเดียว คือ สภาแห่งชาติ มีการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาทุก ๆ 4 ปี มี 131 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็นแบบเขตเดียวคนเดียว (one-mandate electoral districts) จำนวน 75 ที่นั่ง และแบบบัญชีรายชื่อ (party lists) จำนวน 56 ที่นั่ง
ฝ่ายบริหาร
  1. ประธานาธิบดี เป็นประมุข อยู่ในตำแหน่งวาระละ 5 ปี ประธานาธิบดีคนเดียวกันจะดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระ มีอำนาจในการบริหารประเทศและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจำนวน 25 คน ตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ
  2. นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งประธานาธิบดีจะเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา และนายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้เสนอชื่อคณะรัฐมนตรีต่อประธานาธิบดี โดยคณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรี 25 คน (21 กระทรวง)
ฝ่ายตุลาการ
ศาลฎีกา (9 คน) ศาลรัฐธรรมนูญ (9 คน)

การแบ่งเขตการปกครอง

อาร์มีเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 จังหวัด (մարզ marz, พหูพจน์ մարզեր marzer) ได้แก่

จังหวัด เมืองหลัก พื้นที่
(ตร.กม.)[14]
ประชากร
(พ.ศ. 2554)[14]
แผนที่แสดงเขตการปกครองของประเทศอาร์มีเนีย
อารากัตซอเติน Արագածոտն อัชตารัก Աշտարակ 2,756 132,925
อารารัต Արարատ อาร์ตาชัต Արտաշատ 2,090 260,367
อาร์มาวีร์ Արմավիր อาร์มาวีร์ Արմավիր 1,242 265,770
แกฆาร์คูนิค   Գեղարքունիք   กาวาร์ Գավառ 5,349 235,075
กอตัยค์ Կոտայք เฮอรัซดัน Հրազդան 2,086 254,397
ลอรี Լոռի วานัดซอร์ Վանաձոր 3,799 235,537
ชีรัก Շիրակ กียุมรี Գյումրի 2,680 251,941
ซียูนิค Սյունիք กาปัน Կապան 4,506 141,771
ตาวุช Տավուշ อีแจวัน Իջևան 2,704 128,609
วายอทส์ซอร์ Վայոց Ձոր แยแฆกนัดซอร์   Եղեգնաձոր   2,308 52,324
เยเรวาน Երևան 223 1,060,138

ภูมิศาสตร์

ภูมิประเทศอาร์มีเนีย

ประเทศอาร์มีเนียเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัสและอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลแคสเปียน โดยทางเหนือติดกับประเทศจอร์เจียและอาเซอร์ไบจาน ทางใต้ติดกับประเทศอิหร่านและตุรกี

อาณาเขต

เศรษฐกิจ

อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเพชรเจียระไน อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร อาหารสำเร็จรูป

ทรัพยากรธรรมชาติ ทองแดง อะลูมิเนียม

ตลาดนำเข้าที่สำคัญ รัสเซีย เบลเยียม สหรัฐ อิสราเอล อิหร่าน

ตลาดส่งออกที่สำคัญ เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร อิสราเอล รัสเซีย อิหร่าน

สินค้านำเข้าที่สำคัญ ก๊าซธรรมชาติ ยาสูบ อาหาร เพชร ปิโตรเลียม

สินค้าออกที่สำคัญ เพชร แร่ธาตุ อาหาร พลังงาน (2547)

ประชากร

วัฒนธรรม

ละครอาร์มีเนีย

หมายเหตุ

ข้อมูล

 บทความนี้รวมข้อความจากงานที่มีเนื้อหาเสรี (free content) ลิขสิทธิ์ภายใต้ CC-BY-SA IGO 3.0 ข้อความนำมาจาก UNESCO Science Report: towards 2030, 324–26, UNESCO, UNESCO Publishing.

อ้างอิง

  1. "Constitution of Armenia, Article 20". president.am. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 December 2017. สืบค้นเมื่อ 18 January 2018.
  2. Asatryan, Garnik; Arakelova, Victoria (Yerevan 2002). The Ethnic Minorities in Armenia. Part of the OSCE. Archived copy at WebCite (16 April 2010).
  3. Ministry of Culture of Armenia (1).doc "The ethnic minorities in Armenia. Brief information" เก็บถาวร 2017-10-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. As per the most recent census in 2011. "National minority" เก็บถาวร 16 กุมภาพันธ์ 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  4. "Constitution of the Republic of Armenia - Library - The President of the Republic of Armenia". www.president.am. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 April 2020. สืบค้นเมื่อ 7 March 2020.
  5. de Laet, Sigfried J.; Herrmann, Joachim, บ.ก. (1996). History of Humanity: From the seventh century B.C. to the seventh century A.D. (1st ed.). London: Routledge. p. 128. ISBN 978-92-3-102812-0. The ruler of the part known as Greater Armenia, Artaxias (Artashes), the founder of a new dynasty, managed to unite the country...
  6. Encyclopedia Americana: Ankara to Azusa. Scholastic Library Publishing. 2005. p. 393. ISBN 9780717201389. It was named for Artaxias, a general of Antiochus the Great, who founded the kingdom of Armenia about 190 B.C.
  7. "The World Fact Book – Armenia". Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 17 July 2010.
  8. "Armenia". The World Factbook (2024 ed.). Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 24 September 2022. (Archived 2022 edition)
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 "World Economic Outlook Database, October 2022". IMF.org. International Monetary Fund. October 2022. สืบค้นเมื่อ October 11, 2022.
  10. "GINI index (World Bank estimate) - Armenia". World Bank. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2018. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2021.
  11. "Human Development Report 2021/2022" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. 8 September 2022. สืบค้นเมื่อ 8 September 2022.
  12. ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง. ลงวันที่ 14 มีนาคม 2561.
  13. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  14. 14.0 14.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ armstat

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya