Share to:

 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนครพนม
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง135,192 (เพื่อไทย)
131,496 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (2)
ภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนครพนม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครพนมมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นาวาโท พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์)[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก และกิ่งอำเภอเรณูนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร และกิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร, กิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย และกิ่งอำเภอหว้านใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม และอำเภอนาหว้า
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า และกิ่งอำเภอโพนสวรรค์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอโพนสวรรค์ และกิ่งอำเภอนาทม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอโพนสวรรค์ และกิ่งอำเภอนาทม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (ยกเว้นตำบลวังตามัวและตำบลคำเตย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอเรณูนคร และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลคำเตย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอโพนสวรรค์ (ยกเว้นตำบลบ้านค้อ) และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก และกิ่งอำเภอวังยาง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอนาทม และอำเภอโพนสวรรค์ (เฉพาะตำบลบ้านค้อ)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (ยกเว้นตำบลวังตามัว), อำเภอนาหว้า (ยกเว้นตำบลนาหว้าและตำบลนางัว), อำเภอธาตุพนม (เฉพาะตำบลนาถ่อน), อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาทม และอำเภอบ้านแพง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว), อำเภอนาหว้า (เฉพาะตำบลนาหว้าและตำบลนางัว), อำเภอธาตุพนม (ยกเว้นตำบลนาถ่อน), อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร, อำเภอวังยาง และอำเภอโพนสวรรค์
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอบ้านแพง และอำเภอนาทม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม [(เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลนาทราย ตำบลโพธิ์ตาก ตำบลท่าค้อ และตำบลหนองญาติ (ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม)], อำเภอท่าอุเทน และอำเภอโพนสวรรค์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครพนม [(เฉพาะตำบลขามเฒ่า ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง ตำบลบ้านกลาง และตำบลหนองญาติ (นอกเขตเทศบาลเมืองนครพนม)], อำเภอธาตุพนม และอำเภอเรณูนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง และตำบลวังตามัว), อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก และอำเภอวังยาง
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านแพง, อำเภอนาทม, อำเภอศรีสงคราม และอำเภอนาหว้า
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนสวรรค์, อำเภอท่าอุเทน และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ และตำบลท่าค้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเรณูนคร, อำเภอธาตุพนม และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลบ้านกลาง ตำบลดงขวาง ตำบลขามเฒ่า ตำบลคำเตย ตำบลโพธิ์ตาก และตำบลนาทราย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาแก, อำเภอวังยาง, อำเภอปลาปาก และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว ตำบลกุรุคุ และตำบลบ้านผึ้ง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นาวาโท พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายพันธุ์ อินทุวงศ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ขุนอนุสรกรณี (ทะ พรหมประกาย)

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489

      พรรคสหชีพ
เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายพันธุ์ อินทุวงศ์ นายปั่น แก้วมาตย์
2 นายเกษม ศักดิ์เจริญ

ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495

ลำดับ ชุดที่ 5 ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเอื้อ จันทรวงศ์ นายเอื้อ จันทรวงศ์
2 นายพันธุ์ อินทุวงศ์ นายพันธุ์ อินทุวงศ์
  • การเลือกตั้ง พ.ศ. 2492 เป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายสงวน จันทรสาขา นายสงวน จันทรสาขา
นายสุข รอบรู้ นายสุข รอบรู้
นายชวน กิตติศรีวรพันธุ์ นายบุนนาค อนันตชัย

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2511)
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายจำนงค์ ศรีวรขาน
2 นายแสวง ธวัชวะชุม
3 นายชวน กิตติศรีวรพันธุ์
4 นายไขแสง สุกใส

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายไขแสง สุกใส นายเฉลียว ดีวงศ์ นายถนอม แสงสุริยจันทร์ นายแสวง ธวัชวะชุม นายมงคล บุพศิริ
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายสุรจิตต์ จันทรสาขา นายจำนงค์ ศรีวรขาน นายวีรวร สิทธิธรรม
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายเฉิดศักดิ์ แสนวิเศษ นายเฉลียว ดีวงศ์ นายวรพจน์ ณ ถลาง นายจีระศักดิ์ พลสนะ นายวีรวร สิทธิธรรม

ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535

      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ นายทนง ศิริปรีชาพงษ์ นายวีรวร สิทธิธรรม นายกตัญญู อัครฮาด
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พลเอก มานะ รัตนโกเศศ นายวีรวร สิทธิธรรม นายไขแสง สุกใส
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายไพจิต ศรีวรขาน
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ นายไพจิต ศรีวรขาน
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายทนง ศิริปรีชาพงษ์ (ลาออก) นายมานะ คูสกุล
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ (แทนนายทนง)

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
นายมานะ คูสกุล
2 นายไพจิต ศรีวรขาน
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคความหวังใหม่
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2544)พรรคมหาชน
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544[3] ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายชวลิต วิชยสุทธิ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายชวลิต วิชยสุทธิ์
2 นายไพจิต ศรีวรขาน นายไพจิต ศรีวรขาน
นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
(แทนนายไพจิต)
3 นายมงคล บุพศิริ นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
(แทนนายมงคล)
4 นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
5 นายศุภชัย โพธิ์สุ นายศุภชัย โพธิ์สุ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายศุภชัย โพธิ์สุ
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายสุริยา พรหมดี
(แทนนายประสงค์)
2 นายไพจิต ศรีวรขาน
นายอลงกต มณีกาศ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ นายศุภชัย โพธิ์สุ นายภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์
2 นางมนพร เจริญศรี
3 นายไพจิต ศรีวรขาน นายอลงกต มณีกาศ
4 นายชูกัน กุลวงษา นายชวลิต วิชยสุทธิ์
(ลาออกจากพรรค/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายชูกัน กุลวงษา

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เก็บถาวร 2020-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอน ๒๙ก, ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๕, หน้า ๗

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya