จังหวัดราชบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดราชบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/1 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512
|
พ.ศ. 2518 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และกิ่งอำเภอสวนผึ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอวัดเพลง และอำเภอปากท่อ |
|
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ และอำเภอสวนผึ้ง |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538
|
พ.ศ. 2539
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง, อำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง), อำเภอจอมบึง (เฉพาะตำบลรางบัว) และกิ่งอำเภอบ้านคา · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึง (ยกเว้นตำบลรางบัว) และอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์) |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ, อำเภอบ้านคา และอำเภอสวนผึ้ง |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอบ้านคา, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง และอำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึงและอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย) |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562
|
พ.ศ. 2566
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526
- พรรคเกษตรกร
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคประชาไทย → พรรคชาติไทย
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539
- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
- พรรคพลังธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคนำไทย
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) → พรรคไทยรักไทย
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย → พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
- พรรคพลังประชารัฐ → พรรคกล้าธรรม
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|