Share to:

 

อักษรมณีปุระ

อักษรมณีปุระ
ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ
ชนิด
ช่วงยุค
ประมาณ ค.ศ. 1100 – 1700, 1930 – ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภูมิภาครัฐมณีปุระ
ภาษาพูดภาษามณีปุระ
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบพี่น้อง
เลปชา, พักส์-ปา, Marchen
ISO 15924
ISO 15924Mtei (337), ​Meitei Mayek (Meithei, Meetei)
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Meetei Mayek
ช่วงยูนิโคด
[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากอักษรเซมิติกไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

อักษรมณีปุระ (Manipuri alphabet), อักษรไมไตมะเยก (Meitei Mayek) หรือ อักษรมีไตมะเยก (ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ; Meetei Mayek) เป็นอักษรสระประกอบที่ใช้ในภาษามณีปุระ ซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการของรัฐมณีปุระ เคยถูกใช้จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมื่อภาษานี้ถูกแทนที่ด้วยอักษรเบงกอล ทำให้มีเอกสารตัวเขียนไม่กี่อันที่เหลือรอด ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงเริ่มมีการใช้อักษรนี้อีกครั้ง[4]

เนื่องจากภาษามณีปุระไม่มีพยัญชนะก้อง ทำให้มีตัวพยัญชนะสำหรับศัพท์ดั้งเดิมแต่ 15 ตัว บวกพยัญชนะสำหรับสระบริสุทธิ์ 3 ตัว 9 พยัญชนะสำหรับคำยืมในกลุ่มภาษาอินเดีย มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษร 7 แบบ และเครื่องหมายเสริมสัทอักษรพยัญชนะสุดท้าย (/ŋ/) ชื่อของพยัญชนะ 27 ตัวไม่เป็นเพียงชื่อทางสัทศาสตร์เท่านั้น แต่ยังอิงมาจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ด้วย[5]

ชื่อตัวอักษร

หนึ่งในคุณสมบัติเฉพาะของอักษรนี้คือการใช้ส่วนของร่างกายไปตั้งเป็นชื่ออักษร[6] ทุกตัวอักษรตั้งชื่อตามส่วนร่างกายของมนุษย์ในภาษามณีปุระ เช่น ตัวอักษรแรก "kok" แปลว่า "หัว"; ตัวอักษรที่สอง "sam" แปลว่า "ผม"; ตัวอักษรที่สาม "lai" แปลว่า "หน้าผาก" เป็นต้น โดยมีหลักฐานจากหนังสือศักดิ์สิทธิ์ "Wakoklol Heelel Theelel Salai Amailol Pukok Puya" ซึ่งมีรายละเอียดว่าชื่อของแต่ละตัวอักษรมีที่มาอย่างไร[7]

พยัญชนะ
ตัวอักษร ชื่อ อักษรละติน สัทอักษรสากล[8]
kok K /k/
sam S /s/
lai L /l/
mit M /m/
pa P /p/
na N /n/
chil Ch /t͡ʃ/
til T /t/
khou Kh /kʰ/
ngou Ng /ŋ/
thou Th /tʰ/
wai W /w/
yang Y /j/
huk H /h/
un U /u(ː)/
ee I หรือ E /i(ː)/
pham F หรือ Ph /pʰ/
atiya A /ɐ/
gok G /g/
jham Jh /d͡ʒʱ/
rai R /ɾ/
ba B /b/
jil J /d͡ʒ/
dil D /d/
ghou Gh /gʱ/
dhou Dh /dʱ/
bham Bh /bʱ/
พยางค์อักษร
ตัวอักษร ชื่อ ที่มาจากอักษรมณีปุระ
kok lonsum
lai lonsum
mit lonsum
pa lonsum
na lonsum
til lonsum
ngou lonsum
ee lonsum

ตัวเลข

ตัวเลขอารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขมณีปุระ
ชื่อ ꯐꯨꯟ
phun
ꯑꯃ
ama
ꯑꯅꯤ
ani
ꯑꯍꯨꯝ
ahum
ꯃꯔꯤ
mari
ꯃꯉꯥ
mangā
ꯇꯔꯨꯛ
taruk
ꯇꯔꯦꯠ
taret
ꯅꯤꯄꯥꯜ
nipāl
ꯃꯥꯄꯜ
māpal

ยูนิโคด

มีไตมะเยก[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+ABCx
U+ABDx
U+ABEx
U+ABFx
หมายเหตุ
1.^ ในรุ่น 14.0
2.^ บริเวณสีเทาคือบริเวณที่ไม่ลงรหัส
มีไตมะเยก ส่วนขยาย[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+AAEx
U+AAFx     
หมายเหตุ
1.^ ในรุ่น 14.0
2.^ บริเวณสีเทาคือบริเวณที่ไม่ลงรหัส


อ้างอิง

  1. Chelliah, Shobhana Lakshmi (2011). A Grammar of Meithei. De Gruyter. p. 355. ISBN 9783110801118. Meithei Mayek is part of the Tibetan group of scripts,which originated from the Gupta Brahmi script
  2. Singh, Harimohon Thounaojam (January 2011), The Evolution and Recent Development of the Meetei Mayek Script (PDF), Cambridge University Press India, p. 28
  3. Hyslop, Gwendolyn; Morey, Stephen; Post, Mark W (January 2011). "North East Indian Linguistics Volume 3". Cambridge University Press India. ISBN 9788175967939.
  4. Laithangbam, Iboyaima (2017-09-23). "Banished Manipuri script stages a comeback". The Hindu (ภาษาIndian English). ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 2021-08-25.
  5. Ray, Sohini (2009). "Writing the Body: Cosmology, Orthography, and Fragments of Modernity in Northeastern India". Anthropological Quarterly. 82 (1): 150. ISSN 0003-5491.
  6. "A comparative study of Meetei Mayek" (PDF). typoday. สืบค้นเมื่อ 13 May 2019.
  7. Ray, Sohini (2009). "Writing the Body: Cosmology, Orthography, and Fragments of Modernity in Northeastern India". Anthropological Quarterly. 82 (1): 129–154. ISSN 0003-5491.
  8. "Manipuri (Meeteilon / Meithei)". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 28 March 2021.

บรรณานุกรม

  • Chelliah, Shobhana L. (1997). A grammar of Meithei. Berlin: Mouton de Gruyter. ISBN 0-19-564331-3.
  • Chelliah, Shobhana L. (2002). Early Meithei manuscripts. In C. I. Beckwith (Ed.), Medieval Tibeto-Burman languages: PIATS 2000: Tibetan studies: Proceedings of the ninth seminar of the International Association of Tibetan Studies, Leiden 2000 (pp. 59–71). Leiden, Netherlands: Brill.
  • Chelliah, Shobhana L. (2002). A glossary of 39 basic words in archaic and modern Meithei. In C. I. Beckwith (Ed.), Medieval Tibeto-Burman languages: PIATS 2000: Tibetan studies: Proceedings of the ninth seminar of the International Association of Tibetan Studies, Leiden 2000 (pp. 189–190). Leiden, Netherlands: Brill.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya