อักษรบาตัก (อังกฤษ : Batak script ; มีชื่อในภาษาแม่ว่า ซูรัตบาตัก (surat Batak), surat na sampulu sia ("ตัวอักษร 19 ตัว") หรือ si-sia-sia ) เป็นระบบการเขียน ในอดีตของกลุ่มภาษาบาตัก ที่มีผู้พูดหลายล้านคนที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตัวอักษรอาจพัฒนามาจากอักษรกวิ และอักษรปัลลวะ ซึ่งมีที่มาจากอักษรพราหมี ในอินเดีย หรือจากข้อสันนิษฐานอักษรสุมาตราดั้งเดิมที่ได้รับอิทธิพลจากอักษรปัลลวะ[ 1]
การใช้
อักษรบาตักถูกนำมาใช้ในภาษาต่าง ๆ ดังนี้
ภาษากาโร บาตัก เป็นภาษาตระกูลออสตีนีเซียน มีผู้พูด 600,000 คน ในภาคกลางและภาคเหนือของเกาะสุมาตรา
ภาษาโตบา บาตัก (Toba Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 2 ล้านคนทางเหนือของเกาะสุมาตรา
ภาษาไดรี บาตัก (Dairi Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 1.2 ล้านคน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
ภาษาซิมาลูงัน/ตีมูร์ (Simalungun/Timur syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย มีผู้พูด 800,000 คน ทางเหนือของสุมาตรา
ภาษามันดาลิง บาตัก (Mandaling Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผุ้พูด 400,000 คน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
บางโอกาสใช้เขียนภาษามลายู ด้วย
ประวัติ
ชาวบาตัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะชนชั้นปกครองสามารถใช้อักษรบาตักได้ ส่วนใหญ่ใช้เขียนคาถาอาคมและปฏิทิน หลังจากที่ชาวยุโรปมาถึงบาตัก เริ่มจากมิชชันนารีชาวเยอรมัน และชาวดัทช์ใน พ.ศ. 2421 ได้นำอักษรละติน มาใช้คู่กับอักษรบาตัก โดยใช้สอนในโรงเรียน และใช้ในเอกสารทางศาสนาคริสต์
จุดกำเนิด
คาดว่าอักษรบาตักพัฒนามาจากอักษรปัลลวะ และอักษรกวิ โบราณ ที่เป็นลูกหลานของอักษรพราหมี
ลักษณะอักษร
อักษรบาตักเขียนจากบนลงล่างและจากซ้ายไปขวา พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็น /a/ และมีเครื่องหมายกำกับถ้าไม่มีเสียงสระ เสียงสระอื่น เสียงตัวสะกด เสียงตัวสะกด ŋ และ[x] แสดงด้วยเครื่องหมายบน ล่าง หรือหลังพยัญชนะ เช่น ba เขียนด้วยอักษร ba ตัวเดียว bi เขียนเป็น ba.i bang เขียนเป็น baŋ bing เขียนเป็น baŋ.i อักษรที่เป็นตัวสะกดจะมีเครื่องหมายต่อท้าย เช่น bam เขียนเป็น ba.ma.# bim เขียนเป็น ba.ma.i.# อักษรบาตักต่างจากอักษรในตระกูลอักษรพราหมี คือไม่มีการเชื่อมพยัญชนะเมื่อเขียนเป็นกลุ่ม
อักษร
ตัวอักษรพื้นฐานมีชื่อว่า ซูรัต แต่ละพยัญชนะจะมีเสียงสระโดยธรรมชาติเป็น /a/ ตัวอักษรมีหลายแบบตามภูมิภาคและภาษา โดยรูปแบบหลัก ๆ คือ
กาโร ,
มันไดลิง ,
ปักปัก /ไดรี,
ซีมาลูงุน /ตีมูร์ และ
โตบา :
ซูรัต (อักษรพื้นฐาน)
สัทอักษรสากล
a
ha
ka
ba
pa
na
wa
ga
dʒa
da
ra
ma
ta
sa
ja
ŋa
la
ɲa
tʃa
nda
mba
i
u
ถอดเป็นอักษรละติน
a
ha
ka
ba
pa
na
wa
ga
ja
da
ra
ma
ta
sa
ya
nga
la
nya
ca
nda
mba
i
u
กาโร
1
5
มันไดลิง
4
ปักปัก
โตบา
2
3
ซีมาลูงุน
6
รูปอื่น:
^1 (ใช้ในแบบมันไดลิง)
^2
^3
^4
^5
^6
เครื่องหมายสระ
ถอดเป็นอักษรละติน
เครื่องหมายอักษรบาตัก
ถอดเป็นอักษรละติน
เกาะอักษร/ka/
กาโร
มันไดฯ
ไดรี
ซิมาฯ
โตบา
กาโร
มันไดฯ
ไดรี
ซิมาฯ
โตบา
-a
ka
-e
ke
-i
ki
-o
ko
-ou
kou
-u
ku
-ng
kang
-h
kah
–
k
การเชื่อมต่อกับเครื่องหมายเสียงสระอู
อักษรบาตัก
อธิบาย
+
=
a + -u = u
+
=
a + -u = u (ซีมาลูงุน)
+
=
ha + -u = hu (มันไดลิง)
+
=
ha + -u = hu (ซีมาลูงุน)
+
=
ha + -u = hu
+
=
ka + -u = ku (มันไดลิง)
+
=
ba + -u = bu
+
=
pa + -u = pu (มันไดลิง)
+
=
pa + -u = pu (ปักปัก, โตบา)
+
=
pa + -u = pu (ซีมาลูงุน)
+
=
na + -u = nu
+
=
na + -u = nu (มันไดลิง)
+
=
wa + -u = wu (มันไดลิง, โตบา)
+
=
wa + -u = wu (ปักปัก, โตบา)
+
=
wa + -u = wu (ซีมาลูงุน)
+
=
ga + -u = gu
+
=
ga + -u = gu (ซีมาลูงุน)
+
=
ja + -u = ju
อักษรบาตัก
อธิบาย
+
=
da + -u = du
+
=
ra + -u = ru
+
=
ra + -u = ru (ซีมาลูงุน)
+
=
ma + -u = mu
+
=
ma + -u = mu (ซีมาลูงุน)
+
=
ta + -u = tu
+
=
ta + -u = tu
+
=
sa + -u = su (Pakpak)
+
=
sa + -u = su (มันไดลิง)
+
=
sa + -u = su (มันไดลิง)
+
=
sa + -u = su (ซีมาลูงุน)
+
=
ya + -u = yu
+
=
ya + -u = yu (ซีมาลูงุน)
+
=
nga + -u = ngu
+
=
la + -u = lu
+
=
la + -u = lu (ซีมาลูงุน)
+
=
nya + -u = nyu
+
=
ca + -u = cu (มันไดลิง)
ตมปี
เครื่องหมายตมปีใช้เปลี่ยนเสียงของอักษรบางตัว
ha
+
tompi
=
ka
sa
+
tompi
=
ca
+
=
+
=
+
=
+
=
+
=
+
=
เครื่องหมายสำหรับ Ng และ H
เครื่องหมายสำหรับ Ng ( ) และ H ( ) ใช้เขียนเหนือเครื่องหมายแทนที่จะเขียนบนอักษรหลัก
ตัวอย่าง: ping, pong, peh, และ pih.
เครื่องหมายสำหรับพยางค์ปิด
ในพยางค์ปิดเครื่องหมายสระเขียนไว้ท้ายสุด
ta
+
vowel
+
pa
+
pangolat
=
syllable
+
+
=
ta
+
pa
+
pangolat
=
tap
+
+
+
=
ta
+
e
+
pa
+
pangolat
=
tep
+
+
+
=
ta
+
e
+
pa
+
pangolat
=
tep
+
+
+
=
ta
+
i
+
pa
+
pangolat
=
tip
+
+
+
=
ta
+
o
+
pa
+
pangolat
=
top
+
+
+
=
ta
+
u
+
pa
+
pangolat
=
tup
ยูนิโคด
อ้างอิง
ข้อมูล
Kozok, Uli (January 2009). Surat Batak: Sejarah Perkembangan Tulisan Batak : Berikut Pedoman Menulis Aksara Batak Dan Cap Si Singamangaraja XII (ภาษาอินโดนีเซีย). Jakarta: Gramedia. ISBN 978-979-9101-53-2 .
แหล่งข้อมูลอื่น